โครงการ/กิจกรรม
|
กระทรวง
(รับผิดชอบหลัก/ร่วม)
|
โครงการตามแผนแม่บทส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย
|
โครงการที่ได้ดำเนินการ
|
ความก้าวหน้าและผลการดำเนินงาน
|
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
|
ปีที่ดำเนินการ
|
งบประมาณ
|
10. โครงการอื่น ๆ ที่ไม่ได้อยู่ในแผนพัฒนาสตรีฯ
|
กระทรวงการพัฒนา
สังคมฯ
|
1. การให้คำปรึกษาผู้ประสบปัญหา
ทางสังคม
|
1. โครงการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิ
สตรี
|
- ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมโอกาสและความเท่าเทียมกัน มีการนำร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมโอกาสและความเท่าเทียมกันทำให้มีการเลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม จึงได้มีการประชุมวิพากษ์ ใน 4 ภาค 4 จังหวัด ที่จังหวัด ชลบุรี เชียงใหม่ ขอนแก่น และนครศรีธรรมราช และดำเนินการทำประชาพิจารณ์ที่กรุงเทพมหานคร และนำข้อเสนอที่ได้มาปรับปรุงแก้ไขร่างกฎหมายให้มีความครบถ้วนสมบูรณ์
- การสร้างระบบเฝ้าระวังสิทธิอนามัยการเจริญพันธุ์ มีการจัดจ้างผู้เชี่ยวชาญเพื่อสร้างเครื่องมือวัดปัญหาสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ คู่มือการใช้เครื่องมือ และหลักสูตรการสร้างองค์ความรู้เรื่องสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ เพื่อใช้ในการควบคุมนโยบาย การรายงานผลการอนุมัติตามอนุสัญญา CEDAW และต่อการทำงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ต้องการเป็นภาคีให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
- การพัฒนาระบบเพื่อคุ้มครองสิทธิสตรีในชุมชน มีการดำเนินการจัดจ้างที่ปรึกษาเพื่อหารูปแบบและแนวทางการดำเนินงาน รวมทั้งสำรวจข้อมูลและระดมความคิดจากชุมชนทั้งในเขตเมืองและชนบท เพื่อพัฒนาและจัดทำระบบการคุ้มครองสิทธิสตรี สำหรับเป็น
ต้นแบบการคุ้มครองสิทธิสตรีในระดับชุมชน ที่ชุมชนสามารถนำรูปแบบไปดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกัน จัดการกับปัญหา และจัดบริการทางสังคมได้ด้วยตนเอง
- กิจกรรม มีการจัดอบรมให้ความรู้ในการเฝ้าระวังการละเมิดสิทธิแก่ครูแนะแนวโรงเรียนในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ด เพื่อให้นำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปขยายผลสู่นักเรียนในโรงเรียนและชุมชน
|
สำนักงานกิจการสตรีและ
สถาบันครอบครัว
|
2550
|
N/A
|
2. โครงการพัฒนาและผลักดัน
กฎหมายเกี่ยวกับกลุ่มเป้าหมาย
|
2. โครงการพัฒนาและผลักดัน
กฎหมายเกี่ยวกับกลุ่มเป้าหมาย
|
กองกลางเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบตัวชี้วัดมิติหญิงชายคือ กฎหมาย
ที่ใช้ในการคุ้มครองกลุ่มเป้าหมายเพื่อลดอคติและการเลือกการปฏิบัติ และจำนวนสื่อ/ คู่มือ/ หลักสูตร/ องค์กร/ หน่วยงานรัฐ เอกชน เครือข่ายชุมชนและกลุ่มเป้าหมายที่มีส่วนร่วม
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
3. โครงการพัฒนามาตรฐานคู่มือ
การส่งเสริมสวัสดิภาพและคุ้มครองและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
3. โครงการพัฒนามาตรฐานคู่มือ
การส่งเสริมสวัสดิภาพและคุ้มครองและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
กองกลางเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบตัวชี้วัดมิติหญิงชายคือ มาตรฐาน/
คู่มือการส่งเสริมสวัสดิภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ ผลผลิตที่ได้ สท.มีมาตรฐานและคู่มือการส่งเสริมสวัสดิภาพและคุ้มครองพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ ที่ได้รับการปรับปรุงและพัฒนาเพื่อให้หน่วยงาน/ องค์กรและเครือข่ายที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน ผลลัพธ์จากการดำเนินโครงการ 1)หน่วยงานและองค์กรเครือข่ายได้รับการส่งเสริมให้นำมาตรฐานและคู่มือการส่งเสริมสวัสดิภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการและผู้สูงอายุ ไปใช้ในการปฏิบัติงานกับกลุ่มเป้าหมาย 2)เด็ก เยาวชน คนพิการและผู้สูงอายุ ได้รับการคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิตามมาตรฐานที่กำหนดและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ผลจากการดำเนินงานมีการพัฒนามาตรฐานและคู่มือการส่งเสริมสวัสดิภาพและคุ้มครองเด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการและผู้สูงอายุ
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
4. โครงการส่งเสริมและพัฒนา
กระบวนการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิคนพิการ
|
4. โครงการยกร่าง/ปรับปรุง/แก้ไข
ระเบียบ กฎหมาย ด้านคนพิการและผลักดันให้มีผลใช้บังคับ
|
สำนักส่งเสริมและพิทักษ์คนพิการเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ ตัวชี้วัด
มิติหญิงชาย คือ จำนวนบุคลากรหญิงและชายที่ดำเนินการปรับปรุง/ แก้ไขระเบียบ กฎหมายด้านคนพิการ และผลักดันให้มีผลบังคับใช้
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
5. โครงการยกร่าง/ปรับปรุง/แก้ไข
ระเบียบ กฎหมาย ด้านคนพิการและผลักดันให้มีผลใช้บังคับ
|
5. โครงการศึกษาวิจัยติดตามผล
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
|
สำนักส่งเสริมและพิทักษ์คนพิการเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ ตัวชี้วัด
มิติหญิงชาย คือ จำนวนบุคลากรหญิงและชายที่มีบทบาทในโครงการ/ กิจกรรม
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
6. โครงการศึกษาวิจัยติดตามผล
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
|
6. โครงการศึกษาวิจัยระบบ
สนับสนุนการจ้างงานคนพิการในตลาดแรงงานเปิด
|
สำนักส่งเสริมและพิทักษ์คนพิการเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ ตัวชี้วัด
มิติหญิงชาย คือ จำนวนบุคลากรหญิงและชายที่มีบทบาทในโครงการ/ กิจกรรม
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
7. โครงการศึกษาวิจัยระบบ
สนับสนุนการจ้างงานคนพิการในตลาดแรงงานเปิด
|
7. โครงการผลักดันให้มีแผนสิ่ง
อำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการ
|
สำนักส่งเสริมและพิทักษ์คนพิการเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ ตัวชี้วัด
มิติหญิงชาย คือ จำนวนบุคลากรหญิงและชายที่มีบทบาทในโครงการ/ กิจกรรม
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
8. โครงการผลักดันให้มีแผนสิ่ง
อำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการ
|
8. งานกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพ
คนพิการในส่วนบริการให้กู้ยืมเงิน
|
สำนักส่งเสริมและพิทักษ์คนพิการเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ ตัวชี้วัด
มิติหญิงชาย คือ จำนวนบุคลากรหญิงและชายที่รับบริการตามแผนงาน/ โครงการ
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
9. งานกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพ
คนพิการในส่วนบริการให้กู้ยืมเงิน
|
9. โครงการส่งเสริมและพัฒนา
แนวทางการจัดสวัสดิการแก่ผู้ด้อยโอกาสในชุมชน
|
สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาสเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ
ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ แนวทางการจัดสวัสดิการที่หญิง/ ชายได้รับบริการ ผลผลิตที่ได้จากโครงการทำให้มีเครือข่ายความร่วมมือดำเนินงานจัดสวัสดิการสังคมแก้ผู้ด้อยโอกาสในชุมชน และมีรูปแบบ แนวทาง การพัฒนาศักยภาพ ปกป้องคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาสในองค์กรและชุมชน เกิดเป็นผลลัพธ์ได้ว่าผู้ด้อยโอกาสได้รับการส่งเริมและพัฒนาศักยภาพ คุ้มครองและพิทักษ์สิทธิให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สามารถช่วยเหลือตัวเองและดำรงชีวิตอยู่ในชุมชนได้อย่างปกติสุข เป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว ผลจากการดำเนินงานมีรายละเอียดดังนี้ 1)จำนวนองค์กรเครือข่าย/ ผู้นำชุมชนที่ผสานความร่วมมือแบ่งเป็นชาย จำนวน 22 คน (46.81%) หญิง 25 คน (53.19%) รวมทั้งสิ้น 47 คน 2)การสัมมนารวมทั้ง 4 จังหวัด มีผู้เข้าร่วมการสัมมนารวมทั้งสิ้น 417 คน แยกเป็น เพศหญิง ราย เพศชาย 161 คน นอกจากนี้ยังมีปัญหา/ อุปสรรค คือ มีการใช้วิทยากรผู้เชี่ยวชาญจำนวนมากทำให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาเกิดความสับสนในการจัดอภิปรายให้ความรู้ความเข่าใจเกี่ยวกับกลุ่มเป้าหมายของสำนักงานฯ
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
10. โครงการส่งเสริมและพัฒนา
แนวทางการจัดสวัสดิการแก่ผู้ด้อยโอกาสในชุมชน
|
10. การจัดทำรายงานผลการ
ดำเนินงานการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชายประจำปี 2550
|
มีกลุ่มเป้าหมาย คือ กอง/ สำนักในสังกัด สป.พม. ผลจากการ
ดำเนินงานได้มีการจัดทำสรุปรายงานผลการดำเนินงานส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชายประจำปี 2550 ของ สป.พม.
|
สำนักงานปลัดกระทรวง
|
2550
|
N/A
|
||
11. การจัดประชุมคณะกรรมการ
และคณะทำงาน
|
11. โครงการงบประมาณในการ
เสริมสร้างความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย (พส.)
|
กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ได้ให้ความสำคัญในการจัดสรร
งบประมาณเพื่อส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย และยังได้ส่งข้าราชการและเจ้าหน้าที่เข้าร่วมการฝึกอบรมทั้งภายในและภายนอกส่วนราชการ เพื่อจะได้เกิดความรู้ความตระหนักในการจัดสรรงบประมาณในการดำเนินงานอย่างเหมาะสมต่อไป
|
กรมพัฒนาสังคม
และสวัสดิการ
|
2550
|
N/A
|
||
12. ติดตามผลการดำเนินงาน
|
12. โครงการส่งเสริมความเสมอภาค
ของหญิงชาย (สค.)
|
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1)ให้ทุกภาคส่วนของสังคมตั้งแต่ระดับ
อนุบาล ครอบครัว ชุมชน จนถึงระดับประเทศเกิดความตระหนัก รับรู้ และให้ความสำคัญต่อการดำเนินการเพื่อส่งเสริมความเสมอภาค และความเป็นธรรมระหว่างหญิงชาย 2)ให้ส่วนราชการทุกกระทรวง ทบวง กรม ปฏิบัติตามมาตรฐานการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย มีการกำหนดนโยบาย แผนงาน โครงการ กิจกรรมที่มีการบูรณาการมิติหญิงชายกับภารกิจของหน่วยงาน 3)ส่งเสริม สนับสนุน ให้หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน นำพันธกรณีระหว่างประเทศ บูรณาการร่วมกับการดำเนินภารกิจของหน่วยงานที่ส่งผลให้ประเทศไทยได้รับการยอมรับในเวทีสากลและสังคมโลก 4)สร้างโอกาสให้สตรีได้สามารถเข้าถึง มีโอกาสทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และวัฒนธรรม และมีส่วนร่วมรับผลประโยชน์จากการพัฒนา ส่งผลให้สตรีได้มรสถานภาพดีขึ้น 5)ให้สตรีมีความตระหนัก ความรู้ ความเข้าใจในสิทธิสตรี สามารถลดปัญหาที่สตรีถูกล่วงละเมิดสิทธิและถูกเลือกปฏิบัติในทุกรูปแบบ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมจำนวน 16,461 คน
|
สำนักงานกิจการสตรี
และสถาบันครอบครัว
|
2551
|
N/A
|
||
-
|
13. โครงการคุ้มครองสิทธิสตรี
|
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและพัฒนาระบบคุ้มครอง
สิทธิสตรี ยุติการละเมิดสิทธิสตรี เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ชุมชนและหน่วยงานนำร่องที่ปฏิบัติงานในการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิสตรีในชุมชนกรุงเทพมหานคร และเพื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่การดำเนินงานของชุมชนนำร่องในการพัฒนาระบบคุ้มครองสิทธิสตรีในชุมชน โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 510 คน
|
สำนักงานกิจการสตรี
และสถาบันครอบครัว
|
2551
|
N/A
|
||
-
|
14. โครงการส่งเสริมสิทธิมนุษยชน
สตรี
|
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและพัฒนาระบบคุ้มครอง
สิทธิสตรี ยุติการละเมิดสิทธิสตรี เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ชุมชนและหน่วยงานนำร่องที่ปฏิบัติงานในการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิสตรีในชุมชนกรุงเทพมหานคร และเพื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่การดำเนินงานของชุมชนนำร่องในการพัฒนาระบบคุ้มครองสิทธิสตรีในชุมชน โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 510 คน
|
สำนักงานกิจการสตรี
และสถาบันครอบครัว
|
2551
|
N/A
|
||
-
|
15. กลุ่มเป้าหมายสตรีได้รับการ
ส่งเสริมความเสมอภาคการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิ
|
ปรับปรุงกฎหมายที่ก่อให้เกิดช่องว่างในการเอาเปรียบเทียบทางเพศทำให้สตรีถูกเลือกปฏิบัติ รวมทั้งบัญญัติกฎหมายใหม่เพื่อให้เกิดความเท่าเทียมกันระหว่างเพศ ได้แก่ พระราชบัญญัติคำนำหน้านามหญิง พ.ศ.2551 แก้ให้หญิงซึ่งจดทะเบียนสมรสมีสิทธิจะใช้คำนำหน้านามว่า "นาง" หรือ "นางสาว" ได้ตามความสมัครใจ
|
2551
|
N/A
|
|||
กระทรวงมหาดไทย
|
1.ประชาสัมพันธ์ด้านบทบาทหญิงชาย (หอกระจายข่าวบอร์ดประชาสัมพันธ์ บทความเพื่อเผยแพร่ในวารสารท้องถิ่นไทย)
|
1. โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมการตัดสินใจ การบริหารและการเป็นผู้นำ เพื่อเสริมสร้างความเสมอภาคหญิงชาย
|
โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมการตัดสินใจ การบริหารและการเป็นผู้นำ เพื่อเสริมสร้างความเสมอภาคหญิงชาย มี 1 กิจกรรม คือ การสอดแทรกกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมการตัดสินใจ การบริหารและการเป็นผู้นำแห่งความเสมอภาคหญิงชาย จำนวน 5 โครงการที่มีการสอดแทรกกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วม การตัดสินใจ การบริหารและการเป็นผู้นำแห่งความเสมอภาคหญิงชาย
|
สำนักงานปลัดกระทรวง
|
N/A
|
N/A
|
|
2. จัดทำและเผยแพร่มาตรฐานงานส่งเสริมการพัฒนาสตรีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
|
3. โครงการส่งเสริมการมีครอบครัวเดียว
|
โครงการส่งเสริมการมีครอบครัวเดียว ทำให้จำนวนเรื่องร้องเรียนลดลงมากกว่าปี พ.ศ. 2550
|
กรมโยธาธิการและผังเมือง
|
N/A
|
N/A
|
||
3. การจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนสังกัดเทศบาลและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
|
4. โครงการสิทธิของเจ้าหน้าที่ในการลาไปดูแลครอบครัวยามเจ็บป่วย
|
โครงการสิทธิของเจ้าหน้าที่ในการลาไปดูแลครอบครัวยามเจ็บป่วย โครงการอยู่ระหว่างดำเนินงาน ปี พ.ศ. 2551-2554
|
กรมโยธาธิการและผังเมือง
|
2551-2554
|
N/A
|
||
4.โครงการความร่วมมือระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและUNICEF
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
5.โครงการสร้างความเข้มแข็งแก่กลไกการบริหารจัดการ
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
6 . จัดทําระบบเครื่องมือประเมินผลการปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความเสมอภาคระหว่างหญิงชายโดยยึดหลักสมรรถนะ
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
7.พัฒนาระบบเครื่องมือประเมินผลการปฏิบัติงานที่ยึดหลักสมรรถนะ
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
8. การวางแผนและจัดทำแผนกำลังคน
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
9. เพิ่มขีดจำกัดความสามารถบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานตามสายงานอย่างมีประสิทธิภาพ
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
10. สร้างชีวิตการเรียนรู้ในองค์กร
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
11. แก้ไขกฎระเบียบที่ไม่คำนึงถึงความเสมอภาคระหว่างหญิงชายในการปฏิบัติงานของหน่วยงาน
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
12. มีการทบทวน ปรับปรุงแก้ไขกฎระเบียบ และข้อปฏิบัติที่ขาดมุมมองในด้านบทบาทหญิงชาย
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
13.สอดแทรกความเสมคภาคระหว่างหญิงชายโครงการฝึกอบรมเครือข่ายประชาชน
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
14.ปรับปรุงการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยระหว่างหญิงชายให้มีความเหมาะสม
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
1 5. จัดตั้งศูนย์เครือข่ายประสานงานด้านความเสมอภาคระหว่างหญิงชายศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เขต 1-12 และสำ นักงานป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยจังหวัด
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
16. จัดทำ เอกสารเผยแพร่นโยบายด้านความเสมอภาคระหว่างหญิงชายและกิจกรรมที่ดำเนินงานด้านนี้ เพื่อสร้างความเข้าใจและความร่วมมือ
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
กระทรวงวัฒนธรรม
|
-
|
16. โครงการปรับแผนแม่บทการสร้างความเสมอภาคระหว่างหญิงชายของกรมศิลปากร
|
มีการดำเนินการปรับปรุงแผนแม่บทให้มีข้อมูลที่ทันสมัย และมีการปรับยุทธศาสตร์ในการดำเนินงานให้เหมาะสมกับแผนพัฒนาสตรีฯเช่นกัน
|
กรมศิลปากร
|
N/A
|
N/A
|
|
กระทรวงยุติธรรม
|
1. โครงการติดตามประเมินผลการดำเนินงานด้านการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงและชาย
|
1. โครงการจัดทำและทบทวนแผนปฏิบัติการด้านการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย
|
กิจกรรมที่ถูกดำเนินการโดยคำนึงถึงมิติหญิงและชายมีดังต่อไปนี้ (1) การจัดสถานที่ออกกำลังกายในร่ม และสนามกีฬา ลู่วิ่งกลางแจ้ง (2) มีการตรวจสุขภาพประจำปีให้แก่ข้าราชการทุกคน ทั้งหญิงและชาย (3) มีการจัดวิ่งทดสอบสมรรถภาพร่างกาย โดยเกณฑ์การทดสอบมีการการแบ่งแยกตามกลุ่มเพศและอายุ (4) จัดตั้งชมรมการวาดภาพ (5) แยกห้องน้ำหญิง/ชาย (6) จัดประกวดข้าราชการดีเด่นทางด้านต่างๆ
|
กรมราชทัณฑ์
|
2550
|
N/A
|
|
2. โครงการทบทวน เปลี่ยนแปลง ปรับปรุง องค์ประกอบของคณะกรรมการ/คณะทำงานของกรมสอบสวนคดีพิเศษโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของกรมสอบสวนคดีพิเศษ
|
3. การตั้งคณะทำงานต่างๆของกรมสอบสวนคดีพิเศษมีการคำนึงความสามารถในการทำงาน โดยไม่แบ่งแยกเพศหญิงหรือชาย
|
ตั้งคณะทำงานต่างๆของกรมสอบสวนคดีพิเศษมีการคำนึงความสามารถในการทำงาน โดยไม่แบ่งแยกเพศหญิงหรือชาย เพื่อให้บุคลากรทุกคนในกรมฯได้รับความเสมอภาคในการแสดงความคิดเห็นและในการทำงาน
|
กรมสอบสวนคดีพิเศษ
|
N/A
|
N/A
|
||
3. กิจกรรมทบทวนระเบียบต่างๆให้เกิดความเสมอภาคระหว่างหญิง/ชาย (ปีละ 1 ครั้ง)
|
4. การจัดตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานภายใน ป.ป.ส.ภ.9
|
ในปี 2550 สำนักงานป.ป.ส.ได้สนับสนุนให้บุคลากรภายในของ ป.ป.ส.ภ.9ได้รับการอบรมทั้งหมด 4 หลักสูตร คือ หลักสูตรการพัฒนาทีมงาน หลักสูตรพัฒนาทีมงาน หลักสูตรพัฒนาจิตวิทยาในการทำงาน และหลักสูตรการป้องกัน สำหรับในปีงบประมาณ 2551 สำนักงานป.ป.ส.ยังคงส่งข้าราชการในสังกัดเข้าอบรมในหลักสูตรต่างๆ โดยคำนึงถึงความเสมอภาคระหว่างหญิงชายในการคัดเลือกบุคคลเข้ารับการอบรม
|
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
|
2550
|
N/A
|