โครงการ/กิจกรรม
|
กระทรวง
(รับผิดชอบหลัก/ร่วม)
|
โครงการตามแผนแม่บทส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย
|
โครงการที่ได้ดำเนินการ
|
ความก้าวหน้าและผลการดำเนินงาน
|
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
|
ปีที่ดำเนินการ
|
งบประมาณ
|
9. โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านสตรี
|
กระทรวงการพัฒนา
สังคมฯ (หลัก)
|
1. ประมวลผลข้อมูลจากระบบงาน
บริการสังคม
|
1. โครงการจัดทำระบบสารสนเทศ
และข้อมูลจำแนกเพศของประเทศไทย (สค.)
|
โครงการนี้ดำเนินการร่วมกับโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ
ประจำประเทศไทย ซึ่งให้การสนับสนุนจัดหาผู้เชี่ยวชาญ และจัดการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนการผลิต แลกเปลี่ยนการใช้ประโยชน์ และการจัดการระบบข้อมูลด้านสตรีให้ครบถ้วนทุกมิติ รวมทั้งเพื่อเป็นศูนย์กลางประสานการพัฒนา บริหารจัดการและบริการข้อมูลสถิติด้านสตรี ตลอดจนรายงานผลการวิเคราะห์สถานการณ์สตรีของประเทศ จัดทำระบบฐานข้อมูล และจัดทำเว็บไซต์เผยแพร่งานด้านการส่งเสริมความเสมอภาคหญิงชาย (www.gender.go.th) เพื่อให้หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้ที่สนใจสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้
|
สำนักกิจการสตรีและ
สถาบันครอบครัว
|
2550
|
N/A
|
2. ประมวลผลข้อมูลผู้ด้อยโอกาส
|
2. โครงการจัดทำฐานข้อมูลด้านเด็ก
เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ (สท.)
|
โครงการนี้กองกลางเป็นผู้รับผิดชอบ มีข้อมูลแยกเพศเพื่อใช้ในการ
วิเคราะห์เป็นตัวชี้วัดมิติหญิงชาย
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
3. การให้คำปรึกษาผู้ประสบปัญหา
ทางสังคม (ข้อมูลแยกเพศ)
|
3. โครงการให้ความรู้เกี่ยวกับการ
บริหารราชการแนวใหม่ สท.
|
มีฝ่ายการเจ้าหน้าที่กองกลางเป็นผู้รับผิดชอบ ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ
จำนวนบุคลากรหญิงชายของ สท. ที่เข้าร่วมกิจกรรม และสัดส่วนข้าราชการหญิงชายในระดับผู้บริหาร
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
4. การสร้างฐานข้อมูล สป.พม.
โดยจำแนกเพศ พ.ศ. ...
|
4. โครงการพัฒนาภาวะผู้นำด้าน
พัฒนาสังคม สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
-
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
5. การจัดทำฐานข้อมูลผู้รับบริการ
โดยแยกเพศ
|
5. โครงการอบรมบุคลากร สท.
โดยหน่วยงานภายนอก
|
-
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
6. การนำสารสนเทศของผู้รับบริการ
ไปใช้ในการวางแผนให้บริการโดยคำนึงถึงมิติหญิงชาย
|
6. โครงการฝึกอบรมหลักสูตร
การเขียนโครงการและการติดตามประเมินผล สท.
|
มีฝ่ายการเจ้าหน้าที่กองกลางเป็นผู้รับผิดชอบ ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ
จำนวนบุคลากรหญิงชายของ สท. ที่เข้าร่วมกิจกรรม
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
7. การจัดทำฐานข้อมูลบุคลากร
โดยแยกเพศ (พส.)
|
7. โครงการฝึกอบรมหลักสูตร
เฉพาะตำแหน่ง สท.
|
มีฝ่ายการเจ้าหน้าที่กองกลางเป็นผู้รับผิดชอบ ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ
จำนวนบุคลากรหญิงชายของ สท. ที่เข้าร่วมกิจกรรม
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
8. การนำสารสนเทศของบุคลากร
ไปใช้ในการบริหารงานบุคคล
|
8. โครงการส่งเสริมวิสัยทัศน์
ด้านจริยธรรม คุณธรรมของบุคลากร สท.
|
มีฝ่ายการเจ้าหน้าที่กองกลางเป็นผู้รับผิดชอบ ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ
จำนวนบุคลากรหญิงชายของ สท. ที่เข้าร่วมโครงการ/ กิจกรรม ผลผลิต คือ ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างเข้าร่วมโครงการ จำนวน 80 คน ผลลัพธ์ที่ได้ 1)ข้าราชการ พนักงานราชการและลูกจ้าง ได้เรียนรู้วิถีชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 2)ข้าราชการ พนักงานราชการและลูกจ้างได้เรียนรู้หลักธรรมะเพื่อการทำงานพัฒนาสังคม ผลที่ได้จากการดำเนินงาน ข้าราชการ พนักงานราชการและลูกจ้างเข้าร่วมโครงการ/ กิจกรรม จำนวน 80 คน เป็นหญิง 69 คน ชาย 11 คน
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
9. โครงการจัดทำฐานข้อมูล
ด้านเด็กเยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
|
9. โครงการพัฒนาระบบบริหาร
ราชการและสมรรถะบุคลากร สท.
|
มีฝ่ายการเจ้าหน้าที่กองกลางและกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สท.
เป็นผู้รับผิดชอบ ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ จำนวนข้าราชการหญิงชายที่ผ่านเกณฑ์การประเมินสมรรถนะ ผลผลิต คือ 1)มีแผนการดำเนินงานตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงด้านกระบวนงาน/ ขั้นตอนการทำงาน 2 แผน ได้แก่ ด้านการพัฒนามาตรการกลไก และด้านการใช้มาตรการกลไกแก้ไขสถานการณ์เร่งด่วน 2)มีแผนการดำเนินงานตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงด้านการพัฒนาบุคลากร 2 แผน ได้แก่ ด้านความรู้ความเข้าใจในยุทธศาสตร์ และด้านการสร้างแรงจูงใจ ผลลัพธ์ที่ได้ 1)มีการรวบรวมประมวลผลมาตรการ กลไก และองค์ความรู้ของ สท. 2)มีฐานความรู้ตาม 1. เพื่อใช้ในการศึกษาการปฏิบัติงานรวมทั้งการเผยแพร่ต่อสาธารณชนและภาคีเครือข่าย 3)มีรายงานสถานการณ์ 4)ข้าราชการ สท. ได้รับการพัฒนาตามสมรรถนะที่กำหนด 5)ข้าราชการได้รับการจูงใจตามผลการปฏิบัติงาน 6)มีรายงานการประเมินผลองค์กรตามเกณฑ์พัฒนาคุณภาพบริหารจัดการภาครัฐ 7)มีแผนประเด็นการพัฒนาการบริหารจัดการตามเกณฑ์พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
10. โครงการให้ความรู้เกี่ยวกับ
การบริหารราชการแนวใหม่
|
10. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนา
ระบบการประเมินองค์การด้วยเครื่องมือ PART และ PMQA สท.
|
กลุ่มงานพัฒนา (กพร.) เป็นผู้รับผิดชอบ ตัวชี้วัดมิติชายหญิงคือ
จำนวนบุคลากรหญิงชายของ สท. ที่เข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งมีข้าราชการเข้าร่วม 114 คน ชาย 24 คน หญิง 90 คน ผลลัพธ์ที่ได้ข้าราชการ สท.
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
11. โครงการพัฒนาภาวะผู้นำ
ด้านพัฒนาสังคม สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
11. กิจกรรมการบริหารจัดการ
องค์ความรู้ สท.
|
หน่วยงานที่รับผิดชอบ คือ สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส
มีจำนวนหญิง/ ชายที่เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกิดผลผลิตคือ จัดกิจกรรมตามแผนการจัดการองค์ความรู้ และมีฐานข้อมูลองค์ความรู้ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ ผลลัพธ์ที่ได้ 1)ข้าราชการสำนักส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส และบุคลากร สท. ได้รับการพัฒนาศักยภาพ 2)สำนักส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาสมีองค์ความรู้สามารถปฏิบัติราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลที่ได้จากการดำเนินงาน จำนวนบุคลากรในองค์กรได้รับการส่งเสริมศักยภาพการบริหารจัดการและเพิ่มพูนความรู้ แบ่งเป็นข้าราชการชาย 10 คน (29.42%) หญิง 34 คน (70.58%)
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
12. โครงการอบรมบุคลากร สท.
โดยหน่วยงานภายนอก
|
12. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการ
คำนวณต้นทุนผลผลิตของ สท. ประจำปีงบประมาณ 2549 ทั้งปี ระดับหน่วยงานหลัก สท.
|
หน่วยงานหลัก มีฝ่ายนโยบายและแผนงานกองกลางเป็นผู้รับผิดชอบ
ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ จำนวนบุคลากรหญิงชายของ สท. ที่เข้าร่วมประชุม ผลผลิตจากโครงการ 1)รายงานผลการคำนวณต้นทุนผลผลิตประจำปีงบประมาณ 2549 (ต.ค.2548-ก.ย. 2549) ของ สท. 2)รายงานสรุปผลการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยผลิตของ สท. ระหว่างปี 2548-2549 และแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพสำหรับการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2551 ของ สท. ผลลัพธ์ คือ ข้าราชการ สท. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับต้นทุนผลผลิตมากขึ้น ผลจากการดำเนินโครงการมีผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 100 คน เป็นชาย 21 คน หญิง 79 คน
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
13. โครงการฝึกอบรมหลักสูตร
การเขียนโครงการและการติดตามประเมินผล
|
13. โครงการเพิ่มทักษะด้านคน
พิการและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร สท.
|
-
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
N/A
|
N/A
|
||
14. โครงการฝึกอบรมหลักสูตร
เฉพาะตำแหน่ง
|
14. กิจกรรมการบริการจัดการ
องค์ความรู้ สท.
|
หน่วยงานที่รับผิดชอบ คือ สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส
มีจำนวนหญิง/ ชายที่เข้าร่วมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกิดผลผลิตคือ จัดกิจกรรมตามแผนการจัดการองค์ความรู้ และมีฐานข้อมูลองค์ความรู้ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ ผลลัพธ์ที่ได้ 1)ข้าราชการสำนักส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส และบุคลากร สท. ได้รับการพัฒนาศักยภาพ 2)สำนักส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาสมีองค์ความรู้สามารถปฏิบัติราชการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลที่ได้จากการดำเนินงาน จำนวนบุคลากรในองค์กรได้รับการส่งเสริมศักยภาพการบริหารจัดการและเพิ่มพูนความรู้ แบ่งเป็นข้าราชการชาย 10 คน (29.42%) หญิง 34 คน (70.58%)
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
15. โครงการส่งเสริมวิสัยทัศน์
ด้านจริยธรรม คุณธรรมของบุคลากร สท.
|
15. โครงการจัดทำสมรรถนะ
และเกณฑ์การประเมินการปฏิบัติราชการของข้าราชการ สท.
|
-
|
-
|
N/A
|
N/A
|
||
16. โครงการพัฒนาระบบบริหาร
ราชการและสมรรถะบุคลากร
|
16.โครงการศึกษาวิจัยยุทธศาสตร์
บูรณาการพัฒนาคุณภาพคนพิการ สท.
|
หน่วยงานที่รับผิดชอบคือ สำนักส่งเสริมและพิทักษ์คนพิการ มีจำนวนบุคลากรหญิงและชายที่มีบทบาทในการดำเนินงานวิจัยเป็นตัวชี้วัดมิติหญิงชาย
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
17. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อ
พัฒนาระบบการประเมินองค์การด้วยเครื่องมือ PART และ PMQA
|
17.โครงการศึกษาวิจัยประเมินผล
การดำเนินงาน 11 ปี ของกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ สท.
|
หน่วยงานที่รับผิดชอบคือ สำนักส่งเสริมและพิทักษ์คนพิการ
มีจำนวนบุคลากรหญิงและชายที่มีบทบาทในการดำเนินงานวิจัย และจำนวนคนพิการหญิงและชายของกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นตัวชี้วัดมิติหญิงชาย
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
18. กิจกรรมการบริหารจัดการ
องค์ความรู้
|
18.โครงการมุมกิจกรรมข่าวสาร
เพื่อการเรียนรู้และสำรวจความคิดเห็นเพื่อการพัฒนาองค์กร สท.
|
ฝ่ายเจ้าหน้าที่กองกลางเป็นผู้รับผิดชอบ ตัวชี้วัดมิติหญิงชายมีดังนี้
1)มุมกิจกรรมองค์ความรู้เกี่ยวกับบทบาทหญิงชาย 2)จำนวนบุคลากรหญิงและชายที่ใช้บริการยืมหนังสือและสื่อการเรียนรู้ 3)website (www.opp.go.th) ความเสมอภาคระหว่างหญิงชายของ สท.
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
19. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการ
คำนวณต้นทุนผลผลิตของ สท. ประจำปีงบประมาณ 2549 ทั้งปี ระดับหน่วยงานหลัก
|
19. สร้างฐานข้อมูลแยกเพศ
ในระบบบริหารงานบุคคล สท.
|
-
|
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
|
2550
|
N/A
|
||
20. โครงการเพิ่มทักษะด้าน
คนพิการและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร
|
20. การสร้างฐานข้อมูล สป.พม.
โดยจำแนก พ.ศ. ...
|
มีการจัดทำข้อมูลแยกเพศในการบริหารงานบุคคล ทำให้มีข้อมูล
การเลือกสรรบุคคลเข้าทำงานเป็นข้าราชการชาย 3 คน หญิง 15 คน รวม 18 คน มีข้อมูลการเลื่อนระดับ(เลื่อนตำแหน่ง) ข้าราชการ สป.พม. ชาย 10 คน หญิง 70 คน รวม 80 คน มีข้อมูลจำนวนข้าราชการสป.พม. ชาย 405 คน หญิง 905 คน รวม 1,310 คน มีข้อมูลจำนวนลูกจ้างประจำ สป.พม. ชาย 119 คน หญิง 43 คน รวม 162 คน มีข้อมูลจำนวนพนักงานราชการ สป.พม. ชาย 45 คน หญิง 95 คน รวม 140 คน และมีข้อมูลจำนวนลูกจ้างจ้างเหมา สป.พม. ชาย 76 คน หญิง 66 คน รวม 142 คน ดำเนินการวันที่ 1 ต.ค.2550- 30 ก.ค. 2551
|
สำนักปลัดกระทรวง
|
2550-2551
|
N/A
|
||
21. กิจกรรมการบริการจัดการ
องค์ความรู้
|
21. โครงการสนับสนุนให้ อปท.
(สป. มีการแยกเพศผู้เข้าอบรม)
|
มีการดำเนินงานโครงการพัฒนาสังคม กลุ่มเป้าหมาย คือ อบต.
ทั่วประเทศ ผลการดำเนินงานมีดังนี้ ทำการสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการดำเนินโครงการพัฒนาสังคมแยกเพศ และทำการสำรวจความพึงพอใจของเครือข่ายที่ทำงานร่วมกับ สนง.พมจ.แยกเพศ
|
สำนักปลัดกระทรวง
|
2550
|
N/A
|
||
22. โครงการจัดทำสมรรถนะและ
เกณฑ์การประเมินการปฏิบัติราชการของข้าราชการ สท.
|
22. ประมวลผลข้อมูลผู้ด้อยโอกาส
(สป.)
|
-
|
สำนักปลัดกระทรวง
|
N/A
|
N/A
|
||
23. โครงการศึกษาวิจัยยุทธศาสตร์
บูรณาการพัฒนาคุณภาพคนพิกา
|
23. การจัดทำฐานข้อมูลบุคลากร
โดยแยกเพศ (พส.
|
การจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรโดยแยกเพศ ทำให้หน่วยงานสามารถ
สืบค้นข้อมูลของบุคลากรและผู้รับบริการได้อย่างสะดวก ดำเนินการวันที่ 1 ต.ค.2550- 30 ก.ย. 2551
|
กรมพัฒนาสังคม
และสวัสดิการ
|
2550-2551
|
N/A
|
||
24. โครงการศึกษาวิจัยประเมินผล
การดำเนินงาน 11 ปี ของกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
|
24. การจัดทำข้อมูล อพม.
จำแนกเพศ
|
มีผู้เข้าร่วม 7,255 คน ดำเนินการระหว่างเดือน ต.ค. 2550- ก.ย. 2551
ใช้งบประมาณร่วมกับแผนงานการสร้างเจตคติฯ
|
สำนักปลัดกระทรวง
|
2551
|
N/A
|
||
25. โครงการมุมกิจกรรมข่าวสาร
เพื่อการเรียนรู้และสำรวจความคิดเห็นเพื่อการพัฒนาองค์กร
|
25. การนำสารสนเทศของบุคลากร
ไปใช้ในการบริหารงานบุคคล
|
การนำสารสนเทศของบุคลากรไปใช้บริหารงานบุคลากร ทำให้
หน่วยงานนำข้อมูลทางสถิติของผู้รับบริการมาใช้วิเคราะห์วางแผน กิจกรรม โครงการต่างๆ แก่ผู้รับบริการ ดำเนินการวันที่ 1 ต.ค.2550- 30 ก.ย. 2551
|
กรมพัฒนาสังคม
และสวัสดิการ
|
2550-2551
|
N/A
|
||
26. สร้างฐานข้อมูลแยกเพศ
ในระบบบริหารงานบุคคล
|
26. การจัดทำฐานข้อมูลผู้รับบริการ
โดยแยกเพศ (พส.)
|
การจัดทำฐานข้อมูลผู้รับบริการโดยแยกเพศ ทำให้มีฐานข้อมูล
ของบุคลากรและกลุ่มเป้าหมายแยกเพศ และมีข้อมูลสถิติผู้รับบริการแยกเพศ ดำเนินการวันที่ 1 ต.ค.2550- 30 ก.ย. 2551
|
กรมพัฒนาสังคม
และสวัสดิการ
|
2550-2551
|
N/A
|
||
กระทรวงมหาดไทย(หลัก)
|
1. ส่งเสริมการจัดทำข้อมูลและสารสนเทศจำแนกเพศ
|
1. โครงการส่งเสริมการจัดทำข้อมูลและสารสนเทศจำแนกเพศ
|
1. โครงการส่งเสริมการจัดทำข้อมูลและสารสนเทศจำแนกเพศ มีจำนวน 1 กิจกรรม คือ กิจกรรมที่ 1 พัฒนาระบบฐานข้อมูลจำแนกหญิงชายและใช้ในการวิเคราะห์เพื่อเสริมสร้างความยุติธรรมและความเสมอภาคหญิงชายด้านการบริหารบุคคล มีการดำเนินการปรับปรุงข้อมูลจำแนกเพศหญิงชายให้เป็นปัจจุบันในรอบปีงบประมาณ จำนวน 1 ครั้ง
|
สำนักปลัดกระทรวง
|
2550
|
N/A
|
|
2. สร้างฐานข้อมูลแยกเพศของข้าราชการในกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
|
2. โครงการสร้างฐานข้อมูลจำนวนผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่นโดยจำแนกตามเพศ
|
โครงการสร้างฐานข้อมูลจำนวนผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่นโดยจำแนกตามเพศ ซึ่งได้มีการจัดทำฐานข้อมูลผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่น จำนวน 130,262 ราย จำแนกตามเพศ แล้วเสร็จและได้วางระบบให้มีการปรับปรุงข้อมูลเพื่อให้เป็นปัจจุบัน เป็นระยะๆ
|
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
|
2551
|
N/A
|
||
3. การสร้างฐานข้อมูลแยกเพศผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่น
|
3. โครงการสร้างฐานข้อมูลข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการ
|
โครงการสร้างฐานข้อมูลข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นข้อมูลในการบริหารงานบุคคลและพิจารณาสัดส่วนความก้าวหน้าของข้าราชการฯ ระหว่างเพศชาย เพศหญิง มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารบุคคลที่ถูกต้อง มีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ และฝ่าย/งานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้นำไปใช้ประโยชน์ มีกองเจ้าหน้าที่เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบ ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป โดยได้รับการสนับสนุนชุดโปรแกรมจากสำนักงานคณะกรรมการและข้าราชการพลเรือน(กพ.)
|
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
|
2549-2550
|
N/A
|
||
4.ส่งเสริมการสร้างฐานข้อมูลแยกเพศของพนักงานส่วนท้องถิ่น
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
5. สร้างฐานข้อมูลแยกเพศการทำงานหรือโครงการต่าง ๆ
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
6. ส่งเสริมให้มีการวิจัยหรือสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทหญิงชายในการบริหารงานของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เช่น ความพึงพอใจของข้าราชการหญิงและชายในการจัดสวัสดิการของส่วนราชการ
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
7. จัดทำและพัฒนาฐานข้อมูลแยกเพศ
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
8.สร้างและพัฒนาระบบฐานข้อมูลชุมชนเพื่อสนับสนุนการจัดการชุมชน
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
9. แยกเพศฐานข้อมูลทุกฐานของข้าราชการในหน่วยงาน
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
10.จัดหาและเผยแพร่หนังสือคู่มือเกี่ยวกับบทบาทหญิงชาย
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
11. สร้างฐานข้อมูลแยกเพศของข้าราชการในหน่วยงาน
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
12. สร้างฐานข้อมูลแยกเพศของข้าราชการในหน่วยงาน
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
13. จัดทำฐานข้อมูลจำแนกเพศการถือครองที่ดินของประชาชนจากสำนักงานที่ดินที่มีการจัดเก็บข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
14. สร้างฐานข้อมูลแยกเพศของข้าราชการในหน่วยงาน
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
สำนักงาน ก.พ. (หลัก)
|
1 โครงการจัดทำฐานข้อมูลแยกเพศของข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการ
|
1 มีการทำฐานข้อมูลแยกเพศ
|
1)ส่วนกำลังคนภาครัฐ :ข้าราชการพลเรือนสามัญ แยกเป็น 20 หน่วยงาน ยกตัวอย่างเช่น1.สำนักนายกรัฐมนตรี 2.กระทรวงการคลัง 3.กระทรวงการต่างประเทศ 4.กระทรวงวัฒนธรรม 5.กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 6.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 7.กระทรวงสาธารณสุข เป็นต้น 2)กำลังคนภาครัฐในฝ่ายพลเรือน 3)ผู้เข้าฝึกอบรมในโครงการต่างๆ ที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนได้จัดขึ้น
|
N/A
|
N/A
|
N/A
|
|
2 มีการจัดหลักสูตรฝึกอบรมให้ HRD : e-learning
|
จำนวน 2 หลักสูตร ได้แก่ 1) หลักสูตรผู้หญิง ผู้ชายในโลกการทำงาน 2) หลักสูตรการล่วงละเมิดทางเพศในหน่วยงาน(Sexual Harassment) เป็นการลงทะเบียนเรียนผ่านระบบออนไลน์ ซึ่งมีการบันทึกข้อมูลแยกเพศ
|
N/A
|
N/A
|
N/A
|
|||
กระทรวงวัฒนธรรม
(หลัก)
|
1. การจัดทำฐานข้อมูลแยกเพศหญิงชาย
|
1. การจัดทำข้อมูลจำแนกเพศหญิงและชาย
|
มีทั้งสิ้น 2 รูปแบบ (1) จัดทำฐานข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล โดยจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานของบุคลากร จำนวนบุคลากรหญิงชาย การเลื่อนตำแหน่ง และการเลื่อนขั้นเงินเดือน (2) จำนวนเพศหญิงและชายซึ่งเข้าร่วมการอบรมในโครงการต่างๆในปี 2551 เช่น โครงการสร้างเครือข่ายการทำงานส่งเสริมความเสมอภาคหญิงชายไปบูรณาการในแผนงาน มีจำนวนเพศหญิงเข้ารับการอบรมทั้งสิ้น 63 คน และเพศชายจำนวน 27 คน โครงการอบรมการสร้างมาตรฐานคุณธรรมและจริยธรรมของข้าราชการกระทรวงวัฒนธรรม และสุดท้ายคือ โครงการพัฒนาภาวะผู้นำและผู้บริหารมืออาชีพซึ่งมี 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรศิลปะการพัฒนาหัวหน้างานรุ่นที่ 5 มีผู้เข้าร่วมเป็นหญิงจำนวน 44 คน และเป็นชายจำนวน 34 คน และอบรมหลักสูตรการบริหารระดับสูงรุ่นที่ 57 59 มีผู้เข้าร่วมเป็นหญิง 3 คน และเป็นชาย 1 คน
|
สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม
|
N/A
|
N/A
|
|
2. การจัดทำฐานข้อมูลแยกเพศหญิงชาย
|
2. การจัดทำข้อมูลจำแนกเพศหญิงและชาย
|
มีทั้งสิ้น 2 รูปแบบ (1) การจัดทำฐานข้อมูลจำแนกเพศผู้ใช้บริการแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม และการจัดทำฐานข้อมูลการบริหารบุคคลจำแนกเพศหญิงชายของข้าราชการกรมศิลปากร (2) จำนวนเพศหญิงและชายในการเข้าร่วมการอบรมในโครงการต่างๆในปี 2551 เช่น โครงการฝึกอบรมด้านศิลปกรรมสำหรับบุคคลทั่วไป จัดทั้งสิ้น 3 ครั้ง มีผู้เข้าร่วมทั้งหมด 77 คน เป็นเพศหญิงจำนวน 77 คน และเป็นเพศชายจำนวน 43 คน โครงการอบรมศิลปะสำหรับเยาวชน จัดทั้งหมด 3 ครั้ง มีผู้เข้าร่วมทั้งหมด 134 คน เป็นเพศหญิงจำนวน 80 คน และเป็นเพศชายจำนวน 54 คน โครงการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับการสร้างและดูแลบำรุงรักษาอนุสาวรีย์แห่งชาติจัดทั้งสิ้น 3 ครั้ง มีผู้เข้าร่วมทั้งหมด 227 คน เป็น เป็นเพศหญิงจำนวน 76 คน และเป็นเพศชายจำนวน 151 คน โครงการสัมมนาด้านแผนงานและงบประมาณ มีผู้เข้าร่วมทั้งหมด 102 คน เป็นเพศหญิงจำนวน 74 คน และเป็นเพศชายจำนวน 28 คน
|
กรมศิลปากร
|
N/A
|
N/A
|
||
3. การจัดทำฐานข้อมูลแยกเพศหญิงชาย
|
3. โครงการพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อเสริมสร้างความรู้เรื่องความเสมอภาคระหว่างหญิงและชาย
|
กรมการศาสนาได้มีการจัดทำและปรับปรุงข้อมูลแยกเพศของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานให้ทันสมัยอยู่เสมอ
|
กรมการศาสนา
|
2550
|
N/A
|
||
4. การจัดทำฐานข้อมูลแยกเพศหญิงชาย
|
4. โครงการจัดทำข้อมูลจำแนกเพศบุคลากร
|
โดยจัดเก็บข้อมูลพื้นฐาน จำนวนบุคลากรหญิงชาย การเลื่อนตำแหน่ง และการเลื่อนขั้นเงินเดือน
|
สำนักงานคณะกรรมการ
วัฒนธรรมแห่งชาติ
|
N/A
|
N/A
|
||
5. การจัดทำฐานข้อมูลแยกเพศหญิงชาย
|
5. โครงการจัดทำข้อมูลจำแนกเพศบุคลากร
|
จัดทำฐานข้อมูลจำแนกเพศบุคลากรของสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย
|
สำนักงานศิลปะ วัฒนธรรมร่วมสมัย
|
N/A
|
N/A
|
||
กระทรวงยุติธรรม (ร่วม)
|
1. จัดทำข้อมูลจำแนกเพศข้าราชการหญิง ชาย ในหน่วยงาน โดยกำหนดการแยกเพศในด้านต่างๆและเป็นปัจจุบัน
|
1. การจัดทำข้อมูลจำแนกเพศข้าราชการหญิงชายในสำนักงานปลัดกระทรวง และผู้เข้ารับบริการ
|
สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรมมีการจัดทำข้อมูลจำแนกเพศข้าราชการในส่วนของข้อมูลพื้นฐาน การเลื่อนตำแหน่ง การเลื่อนขั้นเงินเดือน และข้อมูลผู้เข้ารับบริการ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้มีประโยชน์ในการจัดทำแผนงาน/โครงการให้มีความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย และให้ข้าราชการได้รับสิทธิและโอกาสเสมอภาคเท่าเทียมกัน
|
สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
|
2550
|
N/A
|
|
2. จัดทำฐานข้อมูลจำแนกเพศบุคลากรภายในสำนักงานกิจการยุติธรรม
|
2. การจัดทำฐานข้อมูลแยกเพศของข้าราชการในหน่วยงานให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน
|
สำนักงานกิจการยุติธรรมได้ดำเนินการต่อเนื่องทุกปี จึงทำให้สำนักงานฯมีฐานข้อมูลจำแนกเพศของผู้เข้ารับการอบรมในหลักสูตร/สัมมนาในโครงการที่สำคัญของสำนักงานกิจการยุติธรรม
|
สำนักงานกิจการยุติธรรม
|
N/A
|
N/A
|
||
3. จัดทำข้อมูลจำแนกเพศหญิงชายของผู้เข้ารับการอบรมในหลักสูตร/สัมมนาของหน่วยงาน
|
-
|
-
|
สำนักงานกิจการยุติธรรม
|
N/A
|
N/A
|
||
4. โครงการจัดทำฐานข้อมูลบุคคลแบบแยกเพศหญิงชาย
|
3. โครงการจัดทำข้อมูลจำแนกเพศบุคลากร
|
จัดทำข้อมูลจำแนกเพศของข้าราชการในหน่วยงานให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน
|
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
|
N/A
|
N/A
|
||
5. โครงการจัดทำฐานข้อมูลจำแนกการควบคุมการบำบัดแก้ไขฟื้นฟูตามเพศ
|
4. โครงการจัดทำฐานข้อมูลจำแนกการควบคุมการบำบัดแก้ไขฟื้นฟูตามเพศ
|
กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจัดทำข้อมูลเด็กและเยาวชนที่อยู่ในความควบคุมดูแลของสถานรับฯและศูนย์ฝึกฯจำแนกเพศ
|
กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
|
2550
|
N/A
|
||
6. โครงการจัดทำฐานข้อมูลบุคคลแบบแยกเพศหญิงชาย
|
5. โครงการจัดทำข้อมูลจำแนกเพศบุคลากร
|
จัดทำฐานข้อมูลจำแนกเพศบุคลากร
|
กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน
|
N/A
|
N/A
|
||
7. โครงการจัดทำฐานข้อมูลบุคคลแบบแยกเพศหญิงชาย
|
6. โครงการจัดทำข้อมูลจำแนกเพศบุคลากร
|
กรมบังคับคดีจัดทำข้อมูลประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารในฐานะ Back Office และสามารถนำข้อมูลไปใช้บริหารการดำเนินการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย รวมทั้งเป็นการเผยแพร่ข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
|
กรมบังคับคดี
|
2550
|
N/A
|
||
8. สร้างฐานข้อมูลจำแนกเพศหญิงชายของผู้ต้องราชทัณฑ์ทั่วประเทศ
|
-
|
-
|
กรมราชทัณฑ์
|
N/A
|
N/A
|
||
9. สร้างฐานข้อมูลแยกเพศของข้าราชการ
|
8. โครงการสร้างฐานข้อมูลจำแนกเพศของข้าราชการและผู้ต้องขังในหน่วยงาน
|
มีการจัดทำฐานข้อมูลดังต่อไปนี้ (1) ฐานข้อมูลบุคลากรที่จำแนกเพศและตำแหน่ง (2) ฐานข้อมูลกลุ่มผู้มีความเชี่ยวชาญและพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการระดับต้น และระดับกลาง (3) ฐานข้อมูลต่ำแหน่งผู้บริหารงานระดับสูง/ระดับกลาง/ระดับปฏิบัติการ (4) ฐานข้อมูลผู้ต้องขังซึ่งมีการแยกเพศหญิงชาย ทั้งนี้ กรมราชทัณฑ์ยังมีระบบรักษาความปลอดภัยของฐานข้อมูลระบบ DPIS อย่างเท่าเที่ยมกัน
|
กรมราชทัณฑ์
|
2546 - ปัจจุบัน
|
N/A
|
||
-
|
9. การจัดมาตรฐานในองค์กรเพื่อการดำเนินงาของกรมราชทัณฑ์เป็นไปอย่างสม่ำเสมอและเท่าเทียมกัน
|
กรมราชทัณฑ์ได้ดำเนินกิจกรรมเพื่อสร้างความเสมอภาคเท่าเทียมกันระหว่างหญิงชายดังต่อไปนี้ (1) การจัดทำมาตรฐานเรือนจำ 1 ด้าน (2) การจัดทำมาตรฐานความโปร่งใส 5 ด้าน (3) การจัดทำมาตรฐานความเป็นอยู่ 5 ด้าน (4) การจัดทำมาตรฐานด้านการดูแลคุณภาพชีวิตในการทำงานของเจ้าหน้าที่
|
กรมราชทัณฑ์
|
N/A
|
N/A
|
||
10. โครงการจัดทำฐานข้อมูลจำแนกเพศบุคลากรของหน่วยงาน
|
10. จัดทำฐานข้อมูลแยกเพศของบุคลากรในกรมสอบสวนคดีพิเศษ
|
กรมสอบสวนคดีพิเศษได้จัดทำฐานข้อมูลแยกเพศของบุคลากร ซึ่งเป็นประโยชน์ในการจัดทำแผนงาน/โครงการให้เหมาะสมกับความต้องการของบุคลากรทั้งหญิงและชายได้
|
กรมสอบสวนคดีพิเศษ
|
2547 - ปัจจุบัน
|
N/A
|
||
11. โครงการจัดทำฐานข้อมูลจำแนกเพศของประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของกรมสอบสวนคดีพิเศษ
|
-
|
-
|
กรมสอบสวนคดีพิเศษ
|
N/A
|
N/A
|
||
12. โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูลจำแนกเพศหญิงชายที่เข้ารับบริการ และฐานข้อมูลจำแนกเพศของบุคลากรภายในสถาบันนิติวิทยาศาสตร์
|
11. โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูลจำแนกเพศหญิงชายที่เป็นเป้าหมายรับบริการ (ประชาชน)/หน่วยงาน (ที่ให้บริการ)
|
สถาบันฯได้จัดข้อมูลแยกเพศด้านข้อมูลพื้นฐาน การมอบหมายงาน การพัฒนาบุคลากร การเลื่อนตำแหน่ง และการเลื่อนเงินเดือน ฐานข้อมูลเหล่านี้มีประโยชน์ในการจัดทำแผนงาน/โครงการให้สอดคล้องกับความต้องการและความสนใจของข้าราชการทั้งหญิงชาย
|
สถาบันนิติวิทยาศาสตร์
|
2548 - ปัจจุบัน
|
N/A
|
||
12. จัดทำฐานข้อมูลแยกเพศของข้าราชการในหน่วยงาน
|
สถาบันฯจึงมีข้อมูลแยกเพศด้านข้อมูลพื้นฐาน การมอบหมายงาน การพัฒนาบุคลากร การเลื่อนตำแหน่ง และการเลื่อนเงินเดือน ฐานข้อมูลเหล่านี้มีประโยชน์ในการจัดทำแผนงาน/โครงการให้สอดคล้องกับความต้องการและความสนใจของข้าราชการทั้งหญิงชาย
|
สถาบันนิติวิทยาศาสตร์
|
N/A
|
N/A
|
|||
13. จัดทำระบบฐานข้อมูลแยกเพศ
|
13. โครงการพัฒนาและปรับปรุงระบบปฏิบัติการฐานข้อมูลจำแนกเพศ
|
สำนักงานป.ป.ส.จึงมีฐานข้อมูลแยกเพศของบุคลากร ซึ่งเป็นประโยชน์ในการจัดทำแผนงาน/โครงการให้เหมาะสมกับความต้องการของบุคลากรทั้งหญิงและชายได้
|
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
|
N/A
|
N/A
|
||
กระทรวงอุตสาหกรรม
(ร่วม)
|
โครงการแยกเพศฐาน
ข้อมูลบุคลากร
|
โครงการแยกเพศฐาน
ข้อมูลบุคลากร
|
-มีระบบฐานข้อมูลจำแนกเพศและบุคลากรทั้งหญิงและชายมีโอกาสได้รับการพัฒนาอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน โดยจัดทำฐานข้อมูลจำแนกเพศผู้รับบริการ มีข้อมูลการจดทะเบียนชาวไร่อ้อยแยกเพศ สร้างฐานข้อมูลบุคลากรหญิงชายในองค์กร โดยจำแนกระดับตามกลุ่มข้าราชการ และลูกจ้าง จัดทำฐานข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ผลกระทบ ของโครงการที่มีต่อผู้รับบริการหญิงชาย
|
ทุกหน่วยงานมีการจัดทำ
ฐานข้อมูล แยกเพศหญิงชายของหน่วยงาน
|
2550-2551
|
N/A
|
|
กระทรวงสาธารณสุข
(ร่วม)
|
1.วางแผนงานการพัฒนาฐานข้อมูล ในการพัฒนาและปรับปรุงข้อมูลบุคลากร
|
1. สร้างฐานข้อมูลแยกเพศของข้าราชการในหน่วยงานให้ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน
|
สร้างฐานข้อมูลแยกเพศของข้าราชการในหน่วยงานให้ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน ซึ่งข้อมูลแยกเพศมีประโยชน์ในการจัดทำแผนงาน/โครงการให้เหมาะสมกับปัญหา ความต้องการ ความสนใจของข้าราชการหญิงและชาย ประชาชนทั่วไป ซึ่งกรมดำเนินการสร้างฐานข้อมูลที่มีการแยกเพศด้านข้อมูลพื้นฐาน การพัฒนาบุคลากร การเลื่อนตำแหน่ง และการเลื่อนขั้น
|
กรมการแพทย์
|
2550
|
N/A
|
|
2.โครงการจัดทำฐานข้อมูลพัฒนาระบบจำแนกเพศด้านบทบาทหญิงชายในการให้บริการ และถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ประชาชน
|
2. สร้างฐานข้อมูลแยกเพศของข้าราชการ ในสังกัดกรมสุขภาพจิต
|
สร้างฐานข้อมูลแยกเพศของข้าราชการ ในสังกัดกรมสุขภาพจิต โดยมีข้อมูลแยกเพศซึ่งมีประโยชน์ในการจัดทำแผนงาน/โครงการให้เหมาะสมกับปัญหาความต้องการ ความสนใจของข้าราชการหญิงชาย และประชาชนทั่วไป ซึ่งประกอบด้วย ฐานข้อมูลแยกเพศผู้บริหารในสังกัด กรมสุขภาพจิต มีฐานข้อมูลแยกเพศผู้บริหารตั้งแต่ระดับ 9 ขึ้นใน และมีฐานข้อมูลแยกเพศข้าราชการในแต่ละระดับ
|
กรมสุขภาพจิต
|
2550
|
N/A
|
||
3.โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านความเสมอภาคบทบาทหญิงชายของข้าราชการและเจ้าหน้าที่กรมพัฒน์
|
3. การจัดทำฐานข้อมูลแยกเพศบุคลากร
|
จัดทำฐานข้อมูลแยกเพศบุคลากร โดยมีฐานข้อมูลแยกเพศผู้บริหารในสังกัด มีฐานข้อมูลแยกเพศผู้บริหารระดับ 9 ขึ้นไป และมีฐานข้อมูลแยกเพศข้าราชการในแต่ละระดับ
|
กรมสุขภาพจิต
|
2551
|
N/A
|
||
4.สำรวจจำนวนผู้บริหารหญิงชายระดับ 9 ขึ้นไป
|
4. จัดทำข้อมูลแยกเพศในระบบข้อมูลบุคลากรของหน่วยงาน
|
จัดทำข้อมูลแยกเพศในระบบข้อมูลบุคลากรของหน่วยงาน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์จากการจัดทำแผน/โครงการ ให้เหมาะสมกับปัญหา ความต้องการ และความสนใจ
|
กรมอนามัย
|
2550
|
N/A
|
||
5.การจัดทำฐานข้อมูลแยกเพศบุคลากรกรมสุขภาพจิต
|
5. ศูนย์อนามัย จังหวัดสระบุรี มีโครงการที่ดำเนินการโดยมีการเก็บข้อมูลแยกเพศชายหญิง
|
มีการเก็บข้อมูลแยกเพศชายหญิงได้แก่ การประชาสัมพันธ์กรมอนามัยโดยศูนย์อนามัย ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี การสัมมนาพันการการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี 2550 ในวันเด็กแห่งชาติ โดยเก็บข้อมูลแยกเพศชายหญิง ประชุมเชิงปฏิบัติการการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย การประชุมปรับมาตรฐานผู้ประเมินรับรองมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลาดนัดความรู้ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เครือข่ายสร้างสุขภาพ ประกวดรูปแบบการออกกำลังกายคนไทยไร้พุง ระดับเขต การศึกษาดูงานชมรมสร้างสุขภาพดีเด่น การพัฒนาศักยภาพนักเรียนแกนนำชมรมเด็กไทยทำได้ (จัดค่ายเด็กไทยทำได้) การสัมมนานักเรียนแกนนำชมรมเด็กไทยทำได้ (จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้) การพัฒนาทักษะการทำโครงการสุขภาพให้กับชมรมเด็กไทยทำได้ในระดับศูนย์อนามัย โครงการอบรมการพัมนาศักยภาพบุคลากรด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การประชุมสัมมนาเมืองหน้าอยู่ และการประชุมเครือข่ายชมรมร้านอาหาร และแผงลอยจำหน่ายอาหาร
|
กรมอนามัย
|
2550
|
N/A
|
||
6.โครงการจัดระบบข้อมูลหญิงชาย โดยมีการจำแนกเพศการดำรงตำแหน่ง ระดับตำแหน่งให้เป็นข้อมูลปัจจุบัน
|
6. จัดเก็บข้อมูลที่มีการ จำแนกเพศในส่วนของการดำรงตำแหน่งแต่ละระดับ และการเลื่อนขั้นเงินเดือน
|
จัดเก็บข้อมูลที่มีการจำแนกเพศในส่วนของการดำรงตำแหน่งแต่ละระดับ และการเลื่อนขั้นเงินเดือน
|
กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์
|
2550
|
N/A
|
||
7.จัดทำแผนงานข้อมูลสารสนเทศ ในโครงการจัดระบบข้อมูล โดยจัดระบบข้อมูลหญิงชาย โดยมีการจำแนกเพศ การดำรงตำแหน่งให้เป็นข้อมูลปัจจุบัน
|
7. โครงการจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรกรมควบคุมโรค จำแนกเพศ
|
จัดทำฐานข้อมูลบุคลากรกรมควบคุมโรค จำแนกเพศ ซึ่งอยู่ในระหว่างการดำเนินงาน
|
กรมควบคุมโรค
|
2550
|
N/A
|
||
8.โครงการจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรกรมควบคุมโรค จำแนกเพศ ดำเนินการในปี 2550 2554
|
8. โครงการสำรวจสถานะของมิติหญิงชาย
|
สำรวจสถานะของมิติหญิงชาย ในการทำงานของบุคลากรในกรมควบคุมโรค ซึ่งอยู่ในระหว่างการดำเนินงาน
|
กรมควบคุมโรค
|
2550
|
N/A
|
||
9.โครงการสำรวจสถานะของมิติหญิงชาย ในการทำงานของบุคลากรในกรมควบคุมโรค ดำเนินการในปี 2550, 2552 และ 2554
|
9. โครงการจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรกรมควบคุมโรค จำแนกเพศ
|
จัดทำฐานข้อมูลบุคลากรกรมควบคุมโรค จำแนกเพศ ซึ่งดำเนินการเสร็จสิ้นไปแล้วเป็นบางส่วน
|
กรมควบคุมโรค
|
2551
|
N/A
|
||
10. การจัดเก็บข้อมูลจำแนกเพศ
|
10. จัดทำฐานข้อมูลแยกเพศผู้มารับบริการคลินิกนวดแผนไทย
|
จัดทำฐานข้อมูลแยกเพศผู้มารับบริการคลินิกนวดแผนไทย โดยเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนมกราคม ถึง เดือนธันวาคม 2551
|
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
|
2551
|
N/A
|
||
11.วางแผนงานการจัดทำข้อมูล และสารสนเทศจำแนกเพศ ในการจัดทำฐานข้อมูลแยกเพศบุคลากร
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
กระทรวงแรงงาน (ร่วม)
|
1. สร้างฐานข้อมูลบุคลากรในสำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน โดยการแยกเพศ
|
1. ฐานข้อมูลจำแนกเพศของข้าราชการ
|
จัดทำข้อมูลจำแนกเพศ 1 ชุด และมีการปรับปรุงข้อมูลให้มีความเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ
|
สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน
|
2550
|
N/A
|
|
2. การจัดทำข้อมูลจำแนกเพศ
|
2. แผนงานการจัดทำข้อมูลจำแนกเพศผู้เข้ารับบริการในทุกกิจกรรม
|
ดำเนินการจัดทำฐานข้อมูลจำแนกเพศผู้เข้ารับบริการในทุกกิจกรรม
|
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
|
2551
|
N/A
|
||
3. พัฒนาการจัดเก็บข้อมูลนายจ้าง ลูกจ้าง และผู้ประกันตน จำแนกตามเพศหญิงชาย
|
3. พัฒนาการจัดเก็บข้อมูลนายจ้าง ลูกจ้าง และผู้ประกันตน จำแนกตามเพศหญิงชาย
|
ดำเนินการสร้างฐานข้อมูล ลูกจ้าง ผู้ประกันตน จำแนกตามเพศ และสร้างฐานข้อมูลการใช้สิทธิประโยชน์ทดแทน จำแนกตามเพศ ซึ่งกลุ่มเป้าหมายคือผู้ประกันตนทุกคน โดยมีผู้ประกันตนชายจำนวน 4,542,785 คน และผู้ประกันตนหญิง จำนวน 4,639,735 คน
|
สำนักงานประกันสังคม
|
2550
|
N/A
|
||
4. พัฒนาฐานข้อมูล
|
4. การจำแนกข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลทั่วไป โดยใช้เพศในการจำแนก
|
มีการนำเสนอการจำแนกข้อมูลพื้นฐานของข้าราชการชาย และข้าราชการหญิง โดยรายงานแยกตามระดับ ซึ่งมีตั้งแต่ระดับ 1 ถึงระดับ 11 รายงานการได้รับมอบหมายให้เป็นวิทยาของบุคลากร การได้รับแต่งตั้งเป็นคณะทำงาน หรือคณะกรรมการ ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลากร ได้แก่ การศึกษาต่อต่างประเทศ การอบรมหรือดูงาน และการสัมมนา ข้อมูลเกี่ยวกับการเลื่อนตำแหน่ง ข้อมูลเกี่ยวกับการเลื่อนเงินเดือน
|
สำนักงานประกันสังคม
|
2550
|
N/A
|
||
5. สร้างฐานข้อมูลแยกเพศของผู้สมัครงานแยกประเภทหญิงชาย ในระบบสารสนเทศการจัดหางานในประเทศ
|
5. สร้างฐานข้อมูลแยกเพศของผู้สมัครงานแยกประเภทหญิงชายในระบบสารสนเทศการจัดหางาน ในประเทศ
|
สร้างฐานข้อมูลแยกเพศของผู้สมัครงานแยกประเภทหญิงชายในระบบสารสนเทศการจัดหางาน ในประเทศ โดยมีผู้สมัครงานรวม 373,042 คน แยกเป็นชาย จำนวน 159,499 คน เป็นหญิง จำนวน 213,543 คน
|
กรมการจัดหางาน
|
2552
|
N/A
|
||
6. ด้านพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย วางแผนงานการจัดทำข้อมูลจำแนกเพศ
|
6. การจัดทำฐานข้อมูลจำแนกเพศผู้ใช้แรงงานที่รับบริการ เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาดำเนินการให้เกิดความเป็นธรรมสอดคล้องกับหลักความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย
|
จัดทำฐานข้อมูลจำแนกเพศผู้ใช้แรงงานที่รับบริการ เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาดำเนินการให้เกิดความเป็นธรรมสอดคล้องกับหลักความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย มีการจัดทำข้อมูลจำแนกเพศผู้ใช้แรงงาน จำนวน 4 ครั้งต่อปี
|
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
|
2550
|
N/A
|
||
7. กิจกรรมการจัดส่งคนหางานไปทำงานต่างประเทศ สร้างฐานข้อมูลการจัดส่งแรงงานไทยไปทำงานต่างประเทศ โดยศูนย์ทะเบียนคนหางานและสารสนเทศ
|
7. สร้างฐานข้อมูลการจัดส่งแรงงานไทยไปทำงานต่างประเทศโดยศูนย์ทะเบียนคนหางาน และสารสนเทศ
|
ดำเนินการจัดส่งคนหางานไปทำงานต่างประเทศ โดยแยกประเภทหญิงชาย จำนวน 81,713 คน เป็นหญิง 11,608 คน ชาย 70,107 คน ซึ่งแยกเป็นการพิจารณาคำขอการจัดส่งคนหางาน และพาลูกจ้างไปทำงาน / ฝึกงานต่างประเทศ รวมจำนวน 36,820 คน เป็นหญิง 4,300 คน ชาย 32,520 คน จัดส่งคนหางานไปทำงานต่างประเทศโดยรัฐ รวมจำนวน 4,772 คน เป็นหญิง 732 คน ชาย 4,040 คน รับแจ้งการเดินทางด้วยตนเอง และเดินทางกลับไปทำงานต่างประเทศ รวมจำนวน 40,121 คน เป็นหญิง 6,574 คน ชาย 33,547 คน จำนวนคนหางานที่ลงทะเบียนแจ้งความประสงค์เดินทางไปทำงานต่างประเทศ รวมจำนวน 77,629 คน เป็นหญิง 14,516 คน ชาย 63,113 คน
|
กรมการจัดหางาน
|
2551
|
N/A
|
||
-
|
8. สร้างฐานข้อมูลแยกเพศของข้าราชการในหน่วยงานกรมการจัดหางาน
|
สร้างฐานข้อมูลแยกเพศของข้าราชการในหน่วยงานกรมการจัดหางาน
|
กรมการจัดหางาน
|
2552
|
N/A
|
||
-
|
9. การจัดทำข้อมูลผู้เข้ารับการฝึกอบรมความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติตามข้อกำหนดมาตรฐานแรงงานไทย
|
จัดทำข้อมูลจำแนกเพศผู้เข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 4 ครั้งต่อปี
|
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
|
2550
|
N/A
|
||
-
|
10. การจัดทำข้อมูลผู้เข้าประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาระบบ
บริหารจัดการมาตรฐานแรงงานไทยตามประเภทกิจการ
|
จัดทำข้อมูลจำแนกเพศผู้เข้าประชุมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 2 ครั้งต่อปี
|
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
|
2550
|
N/A
|
||
-
|
11. การจัดทำข้อมูลผู้เข้าสัมมนาไตรภาคีเชิงวิชาการมาตรฐานแรงงานแห่งชาติ
|
จัดทำข้อมูลจำแนกเพศผู้เข้าสัมมนาไตรภาค จำนวน 1 ครั้งต่อปี
|
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
|
2550
|
N/A
|
||
-
|
12. การจัดทำข้อมูลผู้เข้าร่วมสัมมนา ประชุมด้านมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ
|
จัดทำข้อมูลจำแนกเพศผู้เข้าร่วมสัมมนา จำนวน 2 ครั้งต่อปี
|
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
|
2550
|
N/A
|
||
-
|
13. การจัดทำฐานข้อมูลข้าราชการในระบบ DPIS แยกเพศหญิงชาย มีการจัดทำข้อมูล
|
จัดทำฐานข้อมูลข้าราชการในระบบ DPIS แยกเพศหญิงชาย มีการจัดทำข้อมูล จำนวน 12 ครั้งต่อปี
|
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
|
2550
|
N/A
|
||
-
|
14. การจัดทำฐานข้อมูลข้าราชการผู้ผ่านการประเมินตำแหน่งทางวิชาการ แยกเพศหญิงชาย
|
จัดทำฐานข้อมูลข้าราชการผู้ผ่านการประเมินตำแหน่งทางวิชาการ แยกเพศหญิงชาย มีการจัดทำข้อมูล จำนวน 12 ครั้งต่อปี
|
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
|
2550
|
N/A
|
||
-
|
15. การจัดทำฐานข้อมูลผู้รับบริการทำบัตรเจ้าหน้าที่ของรัฐ แยกเพศหญิงชาย
|
จัดทำฐานข้อมูลผู้รับบริการทำบัตรเจ้าหน้าที่ของรัฐ แยกเพศหญิงชาย มีการจัดทำข้อมูล จำนวน 2 ครั้งต่อปี
|
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
|
2550
|
N/A
|
||
-
|
16. การจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรผู้ถูกร้องเรียน ร้องกล่าวหา แยกเพศหญิงชาย
|
จัดทำฐานข้อมูลบุคลากรผู้ถูกร้องเรียน ร้องกล่าวหา แยกเพศหญิงชาย มีการจัดทำข้อมูล จำนวน 2 ครั้งต่อปี
|
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
|
2550
|
N/A
|
||
-
|
17. การจัดทำฐานข้อมูลลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว และพนักงานราชการ แยกเพศหญิงชาย มีการจัดทำข้อมูล
|
จัดทำฐานข้อมูลลูกจ้างประจำ ลูกจ้างชั่วคราว และพนักงานราชการ แยกเพศหญิงชาย มีการจัดทำข้อมูล จำนวน 12 ครั้งต่อปี
|
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
|
2550
|
N/A
|
||
-
|
18. การจัดทำฐานข้อมูลข้าราชการทุกหน่วยงาน แยกเพศหญิงชาย มีการจัดทำข้อมูล
|
จัดทำฐานข้อมูลข้าราชการทุกหน่วยงาน แยกเพศหญิงชาย มีการจัดทำข้อมูล จำนวน 12 ครั้งต่อปี
|
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
|
2550
|
N/A
|
||
-
|
19. การจัดทำฐานข้อมูลข้าราชการทุกสายงาน แยกเพศหญิงชาย มีการจัดทำข้อมูล
|
จัดทำฐานข้อมูลข้าราชการทุกสายงาน แยกเพศหญิงชาย มีการจัดทำข้อมูล จำนวน 12 ครั้งต่อปี
|
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
|
2550
|
N/A
|
||
-
|
20. การจัดทำฐานข้อมูลข้าราชการที่ส่งผลงานเพื่อการประเมินตำแหน่งทางวิชาการ แยกเพศหญิงชาย
|
จัดทำฐานข้อมูลข้าราชการที่ส่งผลงานเพื่อการประเมินตำแหน่งทางวิชาการ แยกเพศหญิงชาย มีการจัดทำข้อมูล จำนวน 12 ครั้งต่อปี
|
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
|
2550
|
N/A
|
||
กระทรวง
ศึกษาธิการ (ร่วม)
|
1.วางระบบฐานข้อมูลจำแนกเพศที่ครอบคลุมในประเด็นต่างๆ และเป็นปัจจุบัน ทั้งในเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ โดยเริ่มดำเนินในปีงบประมาณ 2550
|
1. จัดทำฐานข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลทั่วไปจำแนกเพศ
|
จัดทำฐานข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลทั่วไปจำแนกเพศ ได้จัดทำข้อมูลข้าราชการทั้งสำนักงาน จำแนกตามเพศ และระดับ ข้อมูลการมอบหมายงาน ข้อมูลการพัฒนาบุคลากร ข้อมูลการเลื่อนตำแหน่ง และข้อมูลการเลื่อนขั้นเงินเดือน
|
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
|
2550
|
N/A
|
|
2.กำหนด/จัดสรรบุคลากรในทุกภาคส่วนขององค์กร โดยแยกสัดส่วนหญิงชายในแต่ละภาคส่วนขององค์กร ซึ่งจะดำเนินงานในปีงบประมาณ 2554
|
2. มีแผนงานที่กำหนดให้ทุกหน่วยงานในสังกัดจัดทำฐานข้อมูลจำแนกเพศในประเด็นต่าง ๆ และมีความเป็นปัจจุบัน
|
มีแผนงานที่กำหนดให้ทุกหน่วยงานในสังกัดจัดทำฐานข้อมูลจำแนกเพศในประเด็นต่าง ๆ และมีความเป็นปัจจุบัน ซึ่งได้มีการจำแนกเพศในส่วนของการพัฒนาบุคลากรด้านการศึกษาต่อต่างประเทศ ด้านอบรม หรือดูงาน ด้านการสัมมนา ในส่วนของการเลื่อนตำแหน่ง ได้มีการจัดทำฐานข้อมูลจำแนกเพศในด้านจำนวนผู้มีสิทธิและจำนวนผู้ได้รับการเลื่อนตำแหน่ง จำนวนคณะกรรมการผู้ประเมินผลงาน ในส่วนของการเลื่อนขั้นเงินเดือน ด้านจำนวนผู้ได้รับการเสนอชื่อให้เลื่อนขั้น และจำนวนผู้ได้รับการเลื่อนขั้นเงินเดือนได้มีการจัดทำฐานข้อมูลจำแนกเพศ เกี่ยวกับจำนวนระดับข้าราชการ การได้รับมอบหมายให้เป็นวิทยากร การได้รับการแต่งตั้งเป็นคณะทำงานหรือคณะกรรมการ การแต่งตั้งเป็นผู้แทนส่วนราชการ
|
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
|
2551
|
N/A
|
||
3.คัดเลือกองค์ประกอบของคณะกรรมการสภาการศึกษา และคณะอนุกรรมการสภาการศึกษา โดยมีสัดส่วนหญิงชายของคณะกรรม/คณะทำงานในระดับต่าง ๆ ซึ่งจะดำเนินงานในปีงบประมาณ 2554
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
4.จัดทำข้อมูลสารสนเทศ จำแนกเพศ ระดับ ตัวบุคลากร สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
||
5. จัดทำข้อมูลและสารสนเทศแยกเพศบุคลากร
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|