โครงการ/กิจกรรม
กระทรวง
(รับผิดชอบหลัก/ร่วม)
โครงการตามแผนแม่บทส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย
โครงการที่ได้ดำเนินการ
ความก้าวหน้าและผลการดำเนินงาน
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ปีที่ดำเนินการ
งบประมาณ
10. โครงการอื่น ๆ ที่ไม่ได้อยู่ในแผนพัฒนาสตรีฯ
กระทรวงการพัฒนา
สังคมฯ
1. สำรวจความพึงพอใจของ
ประชาชนต่อการดำเนินงานโครงการพัฒนาสังคม
1. คณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพ
คนพิการ
สำนักส่งเสริมและพิทักษ์คนพิการเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบ ตัวชี้วัด
มิติหญิงชาย คือ จำนวนชายที่มีบทบาทในโครงการ/ กิจกรรม ในการดำเนินโครงการ/ กิจกรรม สำนักส่งเสริมและพิทักษ์คนพิการ ได้ยกฐานะเป็น “สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ” ในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ พ.ศ. 2550
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
2550
N/A
2. การสำรวจความพึงพอใจของ
สนง.พมจ. ต่อการประสานงานในสังกัดของ สป.พม.
2. การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต
คนพิการแห่งชาติ พ.ศ. 2550 – 2554
สำนักส่งเสริมและพิทักษ์คนพิการเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบ ตัวชี้วัด
มิติหญิงชาย คือ จำนวนชายที่มีบทบาทในโครงการ/ กิจกรรม ในการดำเนินโครงการ/ กิจกรรม
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
2550
N/A
3. โครงการส่งเสริมเครือข่ายการมี
ส่วนร่วมในการพัฒนากลุ่มเป้าหมาย
3. โครงการเผยแพร่และผลักดันการ
ปฏิบัติงานด้านคนพิการภายใต้ “กรอบการปฏิบัติงานแห่งสหัสวรรษจากทะเลสาบบิวา สู่สังคมบูรณาการปลอดจากอุปสรรคและตั้งอยู่บนฐานของสิทธิสำหรับคนพิการในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก”
สำนักส่งเสริมและพิทักษ์คนพิการเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบ ตัวชี้วัด
มิติหญิงชาย คือ จำนวนชายที่มีบทบาทในโครงการ/ กิจกรรม ในการดำเนินโครงการ/ กิจกรรม
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
2550
N/A
4. โครงการคาราวานเสริมสร้างเด็ก
4. โครงการส่งเสริมและสนับสนุน
การจัดตั้งสภาพัฒนาสังคมภาคประชาชน
ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ จำนวนหญิงและชายที่เข้าร่วมเป็นคณะ
กรรมการสภาพัฒนาสังคมภาคประชาชน และจำนวนหญิงและชายที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมสนับสนุนการจัดตั้งสภาพัฒนาสังคมภาคประชาชน ผลผลิตที่ได้มีดังนี้ 1)มีเครือข่ายความร่วมมือดำเนินงานจัดสวัสดิการสังคมแก่ผู้ด้อยโอกาสในชุมชนระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พระ ครู ผู้นำชุมชน อาสาสมัคร ตลอดจนองค์กรเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน 2) มีรูปแบบ แนวทาง มาตรการ กลไก การพัฒนาศักยภาพปกป้องคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาสในองค์กรและชุมชน ผลลัพธ์ที่ได้จากดารดำเนินโครงการ 1) ผู้ด้อยโอกาสได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ คุ้มครองและพิทักษ์สิทธิให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นสามารถช่วยเหลือตัวเองและดำรงชีวิตอยู่ในชุมชนได้อย่างปกติสุข เป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว 2)ผู้ด้อยโอกาสในชุมชนเร่ร่อนที่ไดรับการพัฒนาคุณภาพชีวิต และเข้าถึงสิทธิทางสังคมต่างๆ ที่พึงได้รับ
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
2550
N/A
5. โครงการเครือข่ายเยาวชน
ประชาธิปไตย
5.จัดทำยุทธศาสตร์คุ้มครองและ
พิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส
ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ จำนวนหญิงและชายที่เข้าร่วมเป็นคณะ
กรรมการ ผลผลิตที่ได้เป็นเครื่องมือของการบริหารงานยุคใหม่ที่จะถ่ายทอดนโยบายไปสู่การปฏิบัติที่ระบุถึงโอกาสลู่ทางการดำเนินงานในอนาคต ซึ่งช่วยให้เกิดการประสานงานด้านความคิดเห็น ผลลัพธ์จากการดำเนินโครงการ 1)องค์กรเครือข่ายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีทิศทาง แนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนาศักยภาพคุ้มครองและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส 2)มีหน่วยงาน/องค์กรนำยุทธศาสตร์ไปใช้ ผลการดำเนินงาน มีคณะกรรมการเป็นหญิง 15 คน ชาย 18 คน
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
2550
N/A
6. คณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพ
คนพิการ
-
-
-
-
-
7. การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต
คนพิการแห่งชาติ พ.ศ. 2550 – 2554
-
-
-
-
-
8. โครงการเผยแพร่และผลักดันการ
ปฏิบัติงานด้านคนพิการภายใต้ “กรอบการปฏิบัติงานแห่งสหัสวรรษจากทะเลสาบบิวา สู่สังคมบูรณาการปลอดจากอุปสรรคและตั้งอยู่บนฐานของสิทธิสำหรับคนพิการในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก”
-
-
-
-
-
9. โครงการส่งเสริมและสนับสนุน
การจัดตั้งสภาพัฒนาสังคมภาคประชาชน
-
-
-
-
-
10. จัดทำยุทธศาสตร์คุ้มครองและ
พิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส
-
-
-
-
-
12. โครงการส่งเสริมและพัฒนา
แนวทางการจัดสวัสดิการแก่ผู้ด้อยโอกาส
-
-
-
-
-
13. งานคณะกรรมการผู้สูงอายุ
แห่งชาติ
-
-
-
-
-
กระทรวงมหาดไทย (หลัก)
1. โครงการพัฒนาพลเมืองภาวะผู้นำและทักษะชีวิต(C2L)
1.โครงการบริการงานบุคคลในกองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีท้องถิ่น
โครงการบริหารงานบุคคลในกองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีท้องถิ่น โดยคำนึงถึงเรื่องบทบาทหญิงชายเป็นองค์ประกอบในการพิจารณา ทำให้การบริหารงานบุคคลในหน่วยงานได้คำนึงถึงหลักความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย มีกองตรวจสอบระบบเงินบัญชีท้องถิ่นเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบ
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
2551
N/A
2. สัมมนาแกนนำ เครือข่ายองค์กรภาคประชาชนเพื่อพัฒนา หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงอยู่เย็นเป็นสุข
2. โครงการพัฒนาบุคลากรของสำนักกฎหมายและระเบียบ ท้องถิ่นให้มีประสิทธิ ภาพในการปฏิบัติงาน
โครงการพัฒนาบุคลากรของสำนักกฎหมายและระเบียบท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ทำให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่สำนักงานกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น ทั้งหญิงชายทุกคนที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความเสมอภาคและเท่าเทียมกันในทุกๆ ด้าน เช่น การตัดสินใจ การเสนอความคิดเห็น การแสดงออก การให้ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย การบริหารงานด้านบุคคล และอื่นๆ ทำให้เกิดความสามัคคี มีความคิดริเริ่ม มีการพัฒนา มีการเปลี่ยนแปลง ทำให้องค์กรมีบุคลากรที่มีสมรรถนะในการส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีความเข้มแข็ง โดยสำนักกฎหมายและระเบียบท้องถิ่นเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบ ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ 3 วัน
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
N/A
N/A
3. จัดมหกรรมการเรียนรู้การพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู่เย็นเป็นสุข”
3. โครงการศึกษาความพึงพอใจขององค์กรปกครองส่ ว นท้องถิ่นต่อการปฏิบัติงาน และการบริหารจัดการของสํ า นักงานส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดทั่วประเทศ
โครงการศึกษาความพึงพอใจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ต่อการปฏิบัติงาน และการบริหารจัดการของสำนักงานส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดทั่วประเทศ ซึ่งผลจากการดำเนินโครงการทำให้มีจำนวนเพศหญิงชายที่มีส่วนร่วมในการตอบแบบสอบถาม เป็นหญิง จำนวน 1,202 คน ชาย จำนวน 2,614 คน โดยมีกลุ่มพัฒนาระบบบริหารราชการเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบ ดำเนินโครงการตั้งแต่ 29 สิงหาคม–26 ธันวาคม 2551 3 วัน
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
2551
N/A
4. สร้างการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชน
4. โครงการเชิดชูเกียรติผู้นำองค์กรเครือข่ายพัฒนาชุมชนดีเด่น
โครงการเชิดชูเกียรติผู้นำองค์กรเครือข่ายพัฒนาชุมชนดีเด่น จากการดำเนินโครงการทำให้ผู้นำองค์กรเครือข่ายทั่วประเทศที่ผ่านการคัดเลือกเข้ารับรางวัล มีสำนักส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพชุมชนเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบ ดำเนินโครงการในเดือน ตุลาคม-กันยายน พ.ศ. 2551
กรมพัฒนาชุมชน
2551
N/A
5. รณรงค์ส่งเสริมให้คณะทำงานแลคณะกรรมการของหน่วยงานมีทั้ง 2 เพศโดยมีเพศใดเพศหนึ่งไม่เกิน 2 ใน 3
-
-
-
-
-
6. นำประกาศหลักความเสมอภาคระหว่างหญิงชายมาเป็นแนวทางปฏิบัติในการสรรหาบรรจุแต่งตั้งการเลื่อนขั้นเงินเดือน การเลื่อนระดับ/ตําแหน่ง และย้ายการมอบหมายงานการประเมินผลการปฏิบัติงาน และการศึกษาอบรมดูงานต่างๆ
-
-
-
-
-
7. สนับสนุนให้การแต่งตั้งคณะกรรมการต่างๆตามสัดส่วนหญิงชายที่เหมาะสมตามความรู้ความสามารถ
-
-
-
-
-
8. การคัดเลือกคณะกรรมการผังเมือง เพิ่มกรรมการที่เป็นสตรีไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของคณะกรรมการทั้งหมด (คณะกรรมการฯเป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก)
-
-
-
-
-
9.การคัดเลือกผู้ดำรงตำแหน่งในสายงานต่างๆ ของกรมโยธาธิการและผังเมือง มีสตรีในทุกสายงาน
-
-
-
-
-
10. โครงการอื่น ๆ ที่ไม่ได้อยู่ในแผนพัฒนาสตรีฯ
ยุทธศาสตร์ที่ 2
การเพิ่มโอกาสการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจทางการเมืองและการบริหาร
ฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาสตรี
ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 
(พ.ศ.2550-2554)