โครงการ/กิจกรรม
กระทรวง
(รับผิดชอบหลัก/ร่วม)
โครงการตามแผนแม่บทส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย
โครงการที่ได้ดำเนินการ
ความก้าวหน้าและผลการดำเนินงาน
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ปีที่ดำเนินการ
งบประมาณ
6. โครงการอื่น ๆ ที่ไม่ได้อยู่ในแผนพัฒนาสตรีฯ
กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ (หลัก)
1. โครงการพัฒนามาตรฐาน
การพัฒนาศักยภาพเด็ก
1. โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหา
การค้ามนุษย์
ผลการดำเนินงานในด้านการป้องกัน
1. การส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงปริการของรัฐอย่างเท่าเทียมกันและมีประสิทธิภาพ
2. การเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้อง เช่น การประชุมเชิงปฏิบัติการ การฝึกอบรม การสัมมนา เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ พัฒนาทักษะและเทคนิคในการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ ตลอดจนปลูกฝัง เจตคติและค่านิยมที่เหมาะสมในการปฏิบัติต่อหญิงและเด็ก โดยเฉพาะผู้ตกเป็นเหยื่อการค้ามนุษย์
3. การส่งเสริมแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและการจัดทำระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเรื่องการค้ามนุษย์ของประเทศไทย
4. การคุ้มครอง ช่วยเหลือ ฟื้นฟู บำบัด และส่งกลับคืนสู่สังคม โดยกระทรวงการพัฒนาฯ ได้จัดตั้งสถานแรกรับหรือสถานสงเคราะห์เพื่อรับตัวชั่วคราว 104 แห่ง สำหรับดูแลผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ก่อนส่งกลับไปยังสถานคุ้มครอง และพัฒนาอาชีพ บ้านเกร็ดตระการ
N/A
N/A
N/A
2. โครงการส่งเสริมการดำเนินงาน
ด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชนตามนโยบายยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติระดับชาติตามแนวทางโลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก
2. โครงการพัฒนามาตรฐาน
การพัฒนาศักยภาพเด็ก
กองกลางเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ จำนวน/
คู่มือ/ หลักสูตรที่เกิดจากการพัฒนามาตรฐานขั้นต่ำในการอุปการะเลี้ยงดูเด็กและเยาวชน
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
2550
N/A
3. โครงการส่งเสริมการดำเนินงาน
ตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
3. โครงการส่งเสริมการดำเนินงาน
ด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชนตามนโยบายยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติระดับชาติตามแนวทางโลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก
ตัวชี้วัดมิติหญิงชายคือจำนวนหญิงและชายที่เข้าร่วมโครงการ/
กิจกรรม ซึ่งมีผลผลิตที่ได้ดังนี้ 1)ระดับจังหวัด:มีผู้แทนจาก 76 จังหวัด เข้าร่วมการประชุม จำนวน 836 ราย 2)ระดับชาติ:มีผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน จำนวน 300 ราย ผลลัพธ์และผลจากการดำเนินงาน คือ 1)ผู้เข้าร่วมการประชุมได้รับทราบความเป็นมาและนโยบาย และแผนยุทธศาสตร์ระดับชาติด้านการพัฒนาเด็กตามแนวทาง “โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก” (พ.ศ. 2550-2559) สามารถนำความรู้ไปใช้ในการดำเนินการด้านการพัฒนาเด็กให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2)จัดทำ(ร่าง) แผนปฏิบัติการด้านการปกป้องคุ้มครองและพัฒนาเด็กในการดำเนินการ
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
2550
N/A
4. โครงการผลักดันนโยบาย
ระดับชาติเพื่อเด็กและเยาวชน
4. โครงการส่งเสริมการดำเนินงาน
ตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ 1)จำนวนผู้แทนเด็กเข้าร่วมเวทีสิทธิเด็ก
2)จำนวนผู้เข้าร่วมการอบรมวิทยากรสิทธิเด็กตัวชี้วัดมิติหญิงชาย 3)จำนวนเด็กหญิงเด็กชายที่เข้าร่วมโครงการสิทธิเด็ก 4)จำนวนบุคลากรหญิงชายที่เข้าอบรมวิทยากรสิทธิเด็ก ผลผลิต 352 ราย ผลลัพธ์มีดังนี้ 1)เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการร่างรัฐธรรมนูญปี 2550 ในเนื้อหาสาระสำคัญ ได้แก่ การศึกษาที่มีคุณภาพ 12 ปี โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย การจัดสรรงบประมาณเพื่อการจัดกิจกรรมสำหรับเด็กและเยาวชน การจัดสวัสดิการสำหรับเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาสกลุ่มต่างๆ (การจัดเวทีสิทธิเด็ก) 2)ผู้เข้ารับการอบรมวิทยากรสิทธิเด็กนำความรู้ความเข้าใจไปขยายผล (การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ) ผลการดำเนินงาน 1)การจัดเวทีสิทธิเด็ก จำนวนผู้ทำงานบ้านเด็กและผู้แทนเด็กเข้าร่วมเวทีสิทธิเด็ก จำนวน 352 คน มีชาย 202 คน (57.39%) หญิง 150 คน (42.619%) 2)การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเข้าร่วมการอบรมวิทยากรสิทธิเด็ก จำนวน 46 คน เป็นชาย 13 คน (28.26%) หญิง 33 คน (71.74%)(การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ)
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
2550
N/A
5. โครงการบูรณาการสร้างบทบาท
และพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับเด็กและเยาวชน
5. โครงการผลักดันนโยบาย
ระดับชาติเพื่อเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ 1)จำนวนหญิงชายที่เข้าร่วมประชุมคณะ
กรรมการเยาวชนแห่งชาติ ผลผลิตโครงการ คือ 1)จัดประชุมคณะกรรมการเยาวชนแห่งชาติ อย่างย้องปีละ 4 ครั้ง และอนุกรรมการ ปีละ 6 ครั้ง 2)นโยบายแผนหลักเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนระดับชาติ และแนวทางปฏิบัติเพื่อการส่งเสริมพัฒนา และการคุ้มครองเกี่ยวกับเด็กและเยาวชน ที่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการเยาวชนแห่งชาติ และนำเสนอคณะรัฐมนตรี 3)กิจกรรมด้านเยาวชนของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่คณะกรรมการเยาวชนแห่งชาติส่งเสริมสนับสนุน 4)หน่วยงานภาครัฐและเอกชนได้นำนโยบายและแผนหลักเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนระดับชาติไปดำเนินการทำให้เกิดผลการดำเนินงานตามนโยบายและแผนหลักเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาเด็กและเยาวชนในด้านต่างๆ 5)ข้อคิดเห็นและข้อสังเกตที่เกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชนที่นำเสนอต่อคณะรัฐมนตรีได้รับการพิจารณา ผลลัพธ์มีดังนี้ 1)มีการดำเนินงานในลักษณะบูรณาการด้านนโยบายและแผนระดับชาติโดยผ่านคณะกรรมการเยาวชนแห่งชาติ 2)นโยบายและแผนหลักเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนแห่งชาติรวมทั้งแนวปฏิบัติเพื่อการส่งเสริมพัฒนาและคุ้มครองได้รับการผลักดันให้มีการนำไปปฏิบัติในหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 3)เด็กและเยาวชนได้รับโอกาสในการส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพและความสามารถและได้รับการคุ้มครองจากการจัดกิจกรรมของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน 4)งานด้านเด็กและเยาวชนในมิติการส่งเสริม คุ้มครอง ป้องกัน และแก้ไขฟื้นฟู ได้รับการพัฒนาจากระดับนโยบายสู่การปฏิบัติโดยผ่านกลไกขององค์กรหน่วยงานมากขึ้น
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
2550
N/A
6. โครงการเยาวชนสีขาว
6. โครงการบูรณาการสร้างบทบาท
และพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ 1)จำนวนเด็กและเยาวชนหญิงชายที่เข้าร่วม
กิจกรรมการสร้างบทบาทและพื้นที่สร้างสรรค์ ผลผลิตโครงการ คือ 1)จำนวนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรเครือข่ายด้านเด็กและเยาวชนร่วมจัดกิจกรรมเพื่อสร้างบทบาทและพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับเด็กและเยาวชน 2)ประเภทของกิจกรรมการสร้างบทบาทและพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับเด็กและเยาวชน ที่หน่วยงานต่างๆ ได้ร่วมกันจัดขึ้น 3)จำนวนเด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ผลลัพธ์มีดังนี้ 1)สังคมไทยให้ความตระหนักและความสำคัญในการร่วมจัดกิจกรรมเพื่อสร้างบทบาทและพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับเด็กและเยาวชน 2)เด็กและเยาวชนเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง มีความมั่นใจในบทบาทและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมสร้างสรรค์
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
2550
N/A
7. กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการ
มีส่วนร่วมของชุมชนในการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิเยาวชน “หลักสูตรตัวฉันเป็นของฉัน”
7. โครงการเยาวชนสีขาว
สร้างแกนนำเยาวชนอาสาสมัครและวิทยากรกระบวนการเยาวชน
อาสาสมัครต่อต้านพิษภัยสิ่งมอมเมา หน่วยงานที่รับผิดชอบคือ สำนักส่งเสริมและพิทักษ์เยาวชน ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ จำนวนหญิงและชายที่เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ผลผลิตโครงการ คือ 1)จำนวนเยาวชนแกนนำเยาวชนอาสาสมัครวิทยากรกระบวนการต่อต้านภัยสิ่งมอมเมา 2)เกิดแนวคิดแนวทางมาตรการทางกฎหมายในเรื่องของการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิที่เป็นยุติธรรม 3)เกิดแกนนำเยาวชนอาสาสมัครด้านการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค 4)ได้องค์ความรู้เอกสารคู่มือวิทยากร กระบวนการต่อต้านภัยสิ่งมอมเมา 1 เรื่อง เพื่อปกป้องคุ้มครองเยาวชนให้พ้นจากอบายมุข ผลลัพธ์ของโครงการ ร้อยละ 80 ของเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิ เรื่องการต่อต้านพิษภัยสิ่งมอมเมา ภาวะคุกคามและความเสี่ยงต่างๆ และนักเรียนนักศึกษาที่พักในหอพัก รวมทั้งผู้ประกอบการหอพักที่มีบทบาททำให้หอพักเป็นสถานที่เอื้อต่อการศึกษาและพักอาศัย ผลจากการดำเนินงาน มีหญิงชายที่เข้าร่วมโครงการ/ กิจกรรม จำนวน 160 คน
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
2550
N/A
กิจกรรมสร้างสรรค์คุณธรรมเด็กและเยาวชนเนื่องในวันสำคัญต่างๆ
  หน่วยงานที่รับผิดชอบคือ สำนักส่งเสริมและพิทักษ์เยาวชน ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ จำนวนหญิงและชายที่เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ผลจากการดำเนินงาน มีเยาวชนหญิงชายที่เข้าร่วมโครงการ/ กิจกรรม จำนวน 1250 คน
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
2550
N/A
กิจกรรมรวมพลังเยาวชนพัฒนาชาติอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำ
เยาวชนอาสาสมัครเรียนรู้สู่การคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิเยาวชน หน่วยงานที่รับผิดชอบคือ สำนักส่งเสริมและพิทักษ์เยาวชน ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ จำนวนหญิงและชายที่เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ผลจากการดำเนินงาน มีเยาวชนหญิงชายที่เข้าร่วมโครงการ/ กิจกรรม จำนวน 70 คน
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
2550
N/A
กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตหลักสูตร “ทักษะการประเมินและการ
จัดการความเสี่ยง” หน่วยงานที่รับผิดชอบคือ สำนักส่งเสริมและพิทักษ์เยาวชน ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ จำนวนหญิงและชายที่เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ผลจากการดำเนินงาน มีเยาวชนหญิงชายที่เข้าร่วมโครงการ/ กิจกรรม จำนวน 160 คน
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
2550
N/A
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคุ้มครอง
และพิทักษ์สิทธิเยาวชน “หลักสูตรตัวฉันเป็นของฉัน” หน่วยงานที่รับผิดชอบคือ สำนักส่งเสริมและพิทักษ์เยาวชน ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ จำนวนหญิงและชายที่เข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ผลจากการดำเนินงาน มีเยาวชนหญิงชายที่เข้าร่วมโครงการ/ กิจกรรม จำนวน 500 คน
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
2550
N/A
8. โครงการหอพักสีขาว
8. โครงการหอพักสีขาว
ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ จำนวนเยาวชนหญิงและชายที่ได้รับการ
พัฒนาศักยภาพ ผลผลิตเป็นโครงการ/ กิจกรรมที่เยาวชนมีส่วนร่วม ซึ่งทำให้เยาวชนได้พัฒนาทักษะและศักยภาพของตนเองรู้จักการทำงานเป็นทีม มีความอดทน เสียสละเพื่อส่วนรวม และมีความคิดสร้างสรรค์ ผลจากการดำเนินงาน มีเยาวชนหญิงชายที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ จำนวน 164,400 คน
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
2550
N/A
9. โครงการจัดงานวันเยาวชน
แห่งชาติ
9. โครงการจัดงานวันเยาวชน
แห่งชาติ
-
-
-
-
10. โครงการเรือเยาวชนเอเชีย
อาคเนย์
10. โครงการเรือเยาวชนเอเชีย
อาคเนย์
ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ จำนวนหญิงและชายที่เข้าร่วมโครงการ/
กิจกรรม ผลผลิตที่ได้ เยาวชนไทย จำนวน 28 คน หัวหน้าคณะเยาวชน 1 คน รวม 29 คน เข้าร่วมโครงการในฐานะตัวแทนของประเทศไทย ผลลัพธ์ 1)ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ประสบการณ์และมีโลกทัศน์กว้างไกลในการพัฒนาตนเองและประเทศชาติ 2)สามารถสร้างเครือข่ายและความร่วมมือในการทำงานพัฒนาเยาวชนระหว่างประเทศ 3)สามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการศึกษาดูงานมาประยุกต์ใช้กับการพัฒนาเยาวชนไทย ผลจากการดำเนินงาน มีหญิงชายที่เข้าร่วมโครงการ/ กิจกรรม จำนวน 29 คน
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
2550
N/A
11. โครงการมิตรภาพเยาวชน
ลุ่มแม่น้ำโขง
11. โครงการมิตรภาพเยาวชน
ลุ่มแม่น้ำโขง
-
-
-
-
12. โครงการแลกเปลี่ยนเยาวชน
ระหว่างประเทศ
12. โครงการแลกเปลี่ยนเยาวชน
ระหว่างประเทศ
ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ จำนวนเยาวชนหญิงและชายที่เข้าร่วมโครงการ
/กิจกรรม และจำนวนเจ้าหน้าที่/ ผู้บริหารงานหญิงและชายที่เข้าร่วมโครงการ/ กิจกรรม ผลผลิตที่ได้ 1)เยาวชนไทยจำนวน 500 คน เข้าร่วมโครงการในฐานะตัวแทนของประเทศไทย 2)ส่งผู้บริหารและผู้ทำงานด้านเด็กและเยาวชนไทยไปศึกษาดูงานด้านพัฒนาเด็กและเยาวชน การดำเนินงานของสภาเด็กและเยาวชนในประเทศต่างๆ อย่างน้อย 3 คณะๆ ละ 5-10 คน รุ่นละ 7-10 คน 3)ดำเนินงานต้อนรับคณะบริหารงานเยาวชนและผู้ทำงานเยาวชนจากประเทศต่างๆ เช่น สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี สาธารณรัฐเวียดนาม ญี่ปุ่น และมาเลเซีย ประเทศละ 10-15 คน เป็นเวลา 5-10 วัน ผลลัพธ์จากการดำเนินงาน 1)เยาวชนไทยได้รับความรู้ ประสบการณ์และมีโลกทัศน์ที่กว้างไกลในการพัฒนาตนเองและประเทศชาติ 2)ผู้บริหารงานเยาวชนและเจ้าหน้าที่เยาวชนของไทยสามารถสร้างเครือข่ายและความร่วมมือในการทำงานพัฒนาเยาวชนระหว่างประเทศ 3)ผู้บริหารงานเยาวชนและผู้ทำงานเยาวชนไทยสามารถนำความรู้และประสบการณ์ที่ได้จากการศึกษาดูงานมาประยุกต์ใช้กับการพัฒนาเยาวชนไทย ผลจากการดำเนินงาน มีเยาวชนหญิงชายที่เข้าร่วมโครงการ/ กิจกรรม จำนวน 500 คน
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
2550
N/A
13. โครงการรวมพลังเยาวชน
พัฒนาชาติ
-
-
-
-
-
14. โครงการจัดทำแผนปฏิบัติการ
ต่อต้านการค้ามนุษย์ในระดับจังหวัด
-
-
-
-
-
กระทรวงมหาดไทย (ร่วม)
-
1.การให้ความรู้แก่ข้าราชการทุกระดับ
-
-
-
-
-
2. ดำเนินการแก้ไขปัญหากรณีที่มีปัญหาการล่วงละเมิดทางเพศ
-
-
-
-
-
3. เผยแพร่เอกสาร สิ่งพิมพ์เกี่ยวกับการขจัดความรุนแรงในครอบครัว/ชุมชน/ที่ทำงาน/สถานศึกษา ให้หน่วยงานในสังกัดประชาสัมพันธ์ให้กับประชาชนที่มารับบริการ
-
-
-
-
-
4. จัดทำสื่อการดูแลป้องกันตนเอง
-
-
-
-
-
5. ประสานขอความร่วมมือจากหน่วยงาน เช่น บ้านราชวิถีในการดูแลบุตรของเจ้าหน้าที่ของกรมฯ
-
-
-
-
-
6. จัดกิจกรรมทางด้านการป้องกันตัว
-
-
-
-
กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ (ร่วม)
1. การจัดสภาพแวดล้อมที่คำนึง
ถึงมิติหญิงชาย เช่น จัดสถานที่ออกกำลังกาย สถานที่สูบบุหรี่ และการจัดแข่งขันกีฬาประเภทต่าง ๆ
1. การจัดสภาพแวดล้อมที่คำนึง
ถึงมิติหญิงชาย
การจัดสภาพแวดล้อมที่คำนึงถึงมิติหญิงชาย เช่น จัดสถานที่
ออกกำลังกายให้บุคลากรทั้งหญิงและชาย จัดสถานที่สูบบุหรี่ และการบริการตรวจสุขภาพบุคลากรในหน่วยงาน ฯลฯ บุคลากรทั้งหญิงและชายมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีสมาธิในการทำงาน ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
สำนักงานปลัดกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์
2550
N/A
2. โครงการตั้งศูนย์ให้คำปรึกษา
รับเรื่องราวร้องทุกข์ GFP ส่วนกลาง และ GFP ในส่วนภูมิภาคเพื่อรับเรื่องราวร้องทุกข์จากบุคคลภายนอก และบุคลากรภายในกรมฯ ที่ได้รับผลกระทบ
2. การตรวจสุขภาพประจำปี
การตรวจสุขภาพประจำปี ภายใต้แผนงานการสร้างเจตคติด้านความ
เสมอภาคเพื่อลดอคติและการเลือกปฏิบัติต่าง ๆ ในการให้บริการทางสุขภาพ นโยบายทางสุขภาพ โดยวัดจากร้อยละของเจ้าหน้าที่ผู้หญิงที่ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี ร้อยละ 60
สำนักงานมาตรฐานสินค้า
เกษตรและอาหารแห่งชาติ
2550
N/A
3. โครงการจัดฝึกอบรมให้แก่
ผู้ทำหน้าที่รับเรื่องราวร้องทุกข์ ทราบถึงกระบวนการและวิธีการให้คำปรึกษา
3. การจัดสภาพแวดล้อมและ
สิทธิประโยชน์เอื้อประสิทธิภาพการทำงานหญิงชาย 
การจัดสภาพแวดล้อมและสิทธิประโยชน์เอื้อประสิทธิภาพการทำงาน
หญิงชาย มีการดำเนินกิจกรรม ดังนี้
1. จัดให้มีชมรมผู้สูงอายุ ทำให้มีสมาชิกหญิงชายในชมรม
2. จัดให้มีชมรมแบดมินตันและเทนนิส ทำให้มีสมาชิกหญิงชายในชมรม
3. จัดให้มีการแข่งขันกีฬาประเพณีประจำปี ทำให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่หญิงชายมีส่วนร่วมในกีฬาและนันทนาการ
4. โครงการตรวจสุขภาพประจำปี มีข้าราชการและเจ้าหน้าที่หญิงชายมารับบริการ
5.  โครงการบริจาคโลหิต มีข้าราชการและเจ้าหน้าที่หญิงชายมารับบริการ
กรมพัฒนาที่ดิน
2550
N/A
4. โครงการพัฒนาหลักสูตรการ
อบรมการรับเรื่องราวร้องทุกข์ในที่ทำงาน
4. การจัดสภาพแวดล้อมที่คำนึงถึง
มิติหญิงชาย
การจัดสภาพแวดล้อมที่คำนึงถึงมิติหญิงชาย เช่นจัดสถานที่
ออกกำลังกายและการจัดแข่งขันกีฬา ประเภทต่าง ๆ มีการจัดสถานที่ออกกำลังกายและการจัดแข่งขันกีฬาประเภทต่าง ๆ
สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อ
การเกษตรกรรม
2550
N/A
5. จัดให้มีชมรมผู้สูงอายุ 
-
-
-
-
-
6. จัดให้มีชมรมแบดมินตันและ
เทนนิส
-
-
-
-
-
7. จัดให้มีการแข่งขันกีฬาประเพณี
ประจำปี
-
-
-
-
-
8. โครงการตรวจสุขภาพประจำปี
-
-
-
-
-
9. โครงการบริจาคโลหิต
-
-
-
-
-
10. โครงการรณรงค์สร้างความ
ตระหนักและรับรู้แนวคิดความเสมอภาคหญิงชาย
-
-
-
-
-
11. โครงการรณรงค์การเผยแพร่
สื่อลามกอนาจารในที่ทำงาน
-
-
-
-
-
12. การจัดสภาพแวดล้อมที่คำนึง
ถึงมิติหญิงชาย เช่น จัดสถานที่ออกกำลังกายและการจัดแข่งขันกีฬาประเภทต่าง ๆ
-
-
-
-
-
13. การตรวจสุขภาพประจำปี
-
-
-
-
-
14. จัดสวัสดิการด้านการส่งเสริม
สุขภาพ เช่น การออกกำลังกาย การตรวจสุขภาพประจำปี เป็นต้น
-
-
-
-
-
กระทรวงแรงงาน(ร่วม)
1. ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงาน
1. จัดสภาพแวดล้อมในสถานที่ทำงาน โดยคำนึงถึงมิติหญิงชาย
มีการจัดสถานที่สำหรับสูบบุหรี่ บริเวณอาคาร โดยไม่รบกวนผู้ไม่สูบบุหรี่อย่างเพียงพอ
สำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน
2550
N/A
2. ด้านความรุนแรงต่อผู้หญิง วางแผนงานการขจัดความรุนแรง
2. การจัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ ด้านสิทธิแรงงาน ในเรื่องการถูกล่วงเกินทางเพศ ให้แก่แรงงานหญิง
จัดอบรมให้ความรู้ ความเข้าใจ ด้านสิทธิแรงงาน ในเรื่องการถูกล่วงเกินทางเพศ ให้แก่แรงงานหญิง แรงงานหญิงที่เข้ารับการอบรมมีจำนวน 8,197 คน/ปี
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
2550
N/A
-
3. การปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อประสิทธิภาพการทำงานของข้าราชการหญิงชาย
การปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อประสิทธิภาพการทำงานของข้าราชการหญิงชาย มีการปรับปรุงสภาพแวดล้อม 1 ครั้งต่อปี
กรมสวัสดิการแลคุ้มครองแรงงาน
2551
N/A
6. โครงการอื่น ๆ ที่ไม่ได้อยู่ในแผนพัฒนาสตรีฯ
ยุทธศาสตร์ที่ 4
การเสริมสร้างความมั่นคงในชีวิตและร่างกาย
ฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาสตรี
ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 
(พ.ศ.2550-2554)