โครงการ/กิจกรรม
กระทรวง
(รับผิดชอบหลัก/ร่วม)
โครงการตามแผนแม่บทส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างหญิงชาย
โครงการที่ได้ดำเนินการ
ความก้าวหน้าและผลการดำเนินงาน
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ปีที่ดำเนินการ
งบประมาณ
7. โครงการอื่น ๆ ที่ไม่ได้อยู่ในแผนพัฒนาสตรีฯ
กระทรวงการพัฒนา
สังคมฯ
1. โครงการคาราวานความดีอาชีวศึกษาพัฒนาสังคม
1. โครงการคาราวานความดีอาชีวศึกษาพัฒนาสังคม
ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ จำนวนแกนนำเยาวชนหญิงและชาย
อาชีวศึกษาที่ได้รับการส่งเสริมศักยภาพและพัฒนา ผลผลิต คือ จำนวนแบบและวิธีการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเยาวชน ผลลัพธ์ที่ได้ทำให้เกิดการบูรณาการ่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ผลจากการดำเนินงาน คือ แกนนำเยาวชนหญิงและชายอาชีวศึกษาที่ได้รับการส่งเสริมศักยภาพและพัฒนา จำนวน 80คน
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
2550
N/A
2. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
2. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
มีกิจกรรมการส่งเสริมและพัฒนารูปแบบและกระบวนการมีส่วนร่วม
ของชุมชนในการให้บริการคนพิการแบบเบ็ดเสร็จครบวงจรของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และการส่งเสริมการประกอบอาชีพของคนพิการ หน่วยงานที่รับผิดชอบคือ สำนักส่งเสริมและพิทักษ์คนพิการ ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ 1)จำนวนหญิงและชายที่มีบทบาทในโครงการ/ กิจกรรม 2)จำนวนคนพิการหญิงและชายที่ได้รับการจดทะเบียนทั่วประเทศเพิ่มขึ้น 3)จำนวนคนพิการหญิงและชายที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพโดยชุมชน 4)จำนวนคนพิการหญิงและชายในชุมชนที่เข้าถึงบริการของรัฐ
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
2550
N/A
3. โครงการคลังปัญญาผู้สูงอายุ
3. โครงการคลังปัญญาผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัดมิติหญิงชาย คือ 1)จำนวนหญิงและชายที่ขึ้นทะเบียน
คลังปัญญาผู้สูงอายุ ผลผลิต คือ 1)มีผู้สูอายุเป็นภูมิปัญญาเป็นอาสาสมัครช่วยพัฒนาสังคม 2)มีระบบทะเบียนคลังปัญญาผู้สูงอายุในสาขาความรู้ต่างๆ 3)เกิดกิจกรรมที่ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม 4)มีกิจกรรมที่พัฒนาผู้สูงอายุ ผลลัพธ์ที่ได้ 1)ภาคประชาสังคมมีส่วนร่วมพัฒนาชุมชนท้องถิ่นของตนโดยมีผู้สูงอายุเป็นกลไกหลัก 2)เกิดเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในสาขาวิชาต่างๆ 3)เป็นโอกาสในผู้สูงอายุแสดงศักยภาพดำรงคุณค่าในระบบทางเศรษฐกิจและสังคม ผลที่ได้จากการดำเนินงาน มีผู้สูงอายุขึ้นทะเบียนเป็นอาสาสมัครถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชน เป็นหญิง 1,092 คน ชาย 3,053 คน รวมทั้งสิ้น 4,145 คน และในจังหวัดสามารถขับเคลื่อนให้เกิดกลุ่มรับการถ่ายทอดภูมิปัญญาจากผู้สูงอายุ จำนวน 135 โครงการ มีประชาชนทุกเพศทุกวัยเข้าร่วม จำนวน 14,000 คน
สำนักงานส่งเสริม
สวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ และผู้สูงอายุ
2550
N/A
กระทรวงมหาดไทย(ร่วม)
1.การพัฒนาขีดความสามารถกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตในการสนับสนุนเศรษฐกิจชุมชน
1. จัดตั้งร้านแม่บ้านโยธาธิการและผังเมืองเพื่อสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพสตรีและโอกาสการมีสวนร่วมทางเศรษฐกิจ
โครงการการจัดตั้งร้านแม่บ้านโยธาธิการและผังเมือง เพื่อสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพสตรีและโอกาสการส่วนร่วมทางเศรษฐกิจจากสินค้าที่รับบริจาคหรือสมาชิกแม่บ้านฯ นำมาฝากขาย และสนับสนุนการจำหน่ายสินค้าหนึ่งตำบลหนี่งผลิตภัณฑ์จากจังหวัดต่าง ๆ ระยะเวลาดำเนินการ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2550 เป็นต้นไป
กรมโยธาธิการและผังเมือง
N/A
N/A
2. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้แก่ครัวเรือนยากจนด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับรายได้
2 . โครงการพัฒนาขีดความสามารถกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตในการสนับสนุนเศรษฐกิจชุมชน
โครงการพัฒนาขีดความสามารถกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตในการสนับสนุนเศรษฐกิจชุมชน ผลจากการดำเนินโครงการทำให้สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 23 มีสำนักส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบ ดำเนินโครงการในเดือน มกราคม-มีนาคม พ.ศ. 2551
กรมพัฒนาชุมชน
2551
N/A
3. เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่นร่วมกับภาคประชาชน
3. โครงการพัฒนาหมู่บ้านตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ
โครงการพัฒนาหมู่บ้านตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เป็นการบูรณาการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนแบบครบวงจรโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง โดยมีการจัดสรรคงบประมาณตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551–2554
กรมพัฒนาชุมชน
2551–2554
N/A
4. พัฒนาขีดความรู้ทักษะด้านธุรกิจแก่กลุ่มเศรษฐกิจชุมชนภายใ ต้ปรัชญาเศรษ ฐ กิจพอเพียง
4.โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP)
โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) เป็นการบูรณาการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนแบบครบวงจร โดยเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการตลาดของชุมชน  มีโครงการย่อยดังนี้        
  • การจัดงานมหกรรมสินค้า OTOP เวทีแหล่งทุนอุดหนุน และแหล่งผลิตระดับภาค        
  • ฝึกอบรมและศึกษาดูงานช่องทางการตลาดผลิตภัณฑ์ OTOP สู่ตลาดต่างประเทศ   
  •   หมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว
  •    การเสริมสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายองค์ความรู้   
  • เครือข่ายองค์ความรู้สนับสนุนกลุ่มผู้ผลิตชุมชน 
  • มหกรรมคัดเลือกเครือข่ายองค์ความรู้ (KBO)
  • การลงทะเบียนผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ OTOP 
  • การคัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์
  • การจัดงาน OTOP Midyear     
  • การจัดงาน OTOP City
  • พัฒนาเยาวชนเพื่อการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น                            
กรมพัฒนาชุมชน
N/A
N/A
5.ส่งเสริมผู้นำองค์กรเศรษฐกิจชุมชนในการดำเนินการตามแผนธุรกิจ
5. โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรสตรีด้านการบริหารจัดการชุมชน
โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรสตรีด้านการบริหารจัดการชุมชน วิธีดำเนินการคือ สร้างผู้นำมืออาชีพเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน โดยมีการจัดสรรคงบประมาณ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551–2554
กรมพัฒนาชุมชน
2551–2554
N/A
6. ยกระดับรายได้ครัวเรือนยากจน
6. โครงการเตรียมความพร้อมและเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่สาธารณะและหมู่บ้าน/ชุมชน
โครงการเตรียมความพร้อมและเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่สาธารณะและหมู่บ้าน/ชุมชน มีการสร้างความรู้ความเข้าใจถูกต้องให้แก่ประชาชนเกี่ยวกับหลักการและขั้นตอนการดำเนินโครงการ SML และขับเคลื่อนการดำเนินงานพัฒนาศักยภาพหมู่บ้าน ชุมชน และติดตามประเมินผล โดยมีการจัดสรรคงบประมาณ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551–2554
กรมการปกครอง
2551–2554
N/A
7. โครงการปฏิบัติการแก้จนแบบเข้าถึงทุกครัวเรือน
7.โครงการชีวิตเรียนรู้ครอบครัวเข้มแข็ง
โครงการชีวิตเรียนรู้ครอบครัวเข้มแข็ง เป็นการพัฒนาระบบการจัดการความรู้ของชุมชน โดยมีการจัดสรรคงบประมาณ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551–2554
กรมพัฒนาชุมชน
2551–2554
N/A
8. จัดสัปดาห์สตรีออมทรัพย์ร่วมกับสหกรณ์ออมทรัพย์กรมโยธาธิการและผังเมือง
-
-
-
-
-
7. โครงการอื่น ๆ ที่ไม่ได้อยู่ในแผนพัฒนาสตรีฯ
ยุทธศาสตร์ที่ 5
การส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจ
ฐานข้อมูลผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาสตรี
ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 
(พ.ศ.2550-2554)