|
การเพิ่มโอกาสการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจทางการเมืองและการบริหาร |
|
|
เป้าประสงค์ |
|
|
สตรีมีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียมกัน ในกระบวนการตัดสินใจทางการเมืองและการบริหาร รวมทั้งการกำหนดทิศทางการพัฒนาของประเทศ |
|
|
|
|
|
วัตถุประสงค์ |
|
|
ส่งเสริมศักยภาพสตรีในการมีส่วนร่วมทางการเมืองและการบริหาร |
|
กระจายโอกาสในทรัพยากร และผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาประเทศอย่างเป็นธรรม |
|
ส่งเสริมให้มีกฎหมายและมาตรการที่สนับสนุนการมีส่วนร่วมของสตรี ในทางการเมือง
และการบริหาร |
|
|
|
เป้าหมาย |
|
|
|
สัดส่วนสตรีที่ลงสมัครรับเลือกตั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่นเพิ่มขึ้น |
|
สัดส่วนสตรีในระดับการตัดสินใจทางการเมืองและการบริหารทุกระดับเพิ่มขึ้น |
|
สัดส่วนสตรีในคณะกรรมการนโยบายระดับชาติ และองค์กรอิสระเพิ่มขึ้น |
|
|
|
|
แนวทางการพัฒนา |
|
|
การเสริมสร้างศักยภาพสตรี |
|
|
เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่สตรีในเรื่องความเสมอภาคระหว่างหญิงและชาย และบทบาทหญิงชาย |
|
เตรียมความพร้อมและเสริมสร้างศักยภาพ ด้านภาวะผู้นำแก่สตรีที่ จะลงสมัครรับเลือกตั้งทุกระดับอย่างทั่วถึง และเป็นระบบ |
|
ส่งเสริมและสนับสนุนสตรีที่มีศักยภาพให้ลงสมัครในตำแหน่งทางการเมือง และการบริหารทุกระดับ |
|
เพิ่มสมรรถนะแก่สตรีที่เข้าสู่การเมือง และการบริหาร เกี่ยวกับกระบวนการ ในการกำหนดนโยบายสาธารณะ โดยคำนึงถึงประโยชน์ จริยธรรม จรรยาบรรณ และธรรมาภิบาล |
|
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ปลูกฝังจิตสำนึก อุดมการณ์ ค่านิยม จริยธรรม วัฒนธรรมประชาธิปไตย และธรรมาภิบาลแก่ผู้นำสตรีทุกระดับอย่างจริงจังและต่อเนื่อง |
|
|
|
|
|
เสริมสร้างกลุ่มแก่นำสตรี เพื่อการขับเคลื่อนขบวนการทางสังคมทุกระดับ |
|
เสริมสร้างการตระหนักรู้เรื่องความเสมอภาคระหว่างหญิงและชาย และความสำคัญของการมีส่วนร่วมอย่างมีความหมายของสตรี ทางการเมืองและการบริหารแก่เยาวชน นักศึกษาและสาธารณชน |
|
รณรงค์ให้ผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงให้โอกาส และสนับสนุนสตรีที่มีศักยภาพเข้าสู่การเมืองและการบริหารทุกระดับ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|